วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2558

สถาบันการบินพลเรือน รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี และระดับอนุปริญญา ผ่านรับตรง หลักสูตรวิชาภาคพื้น สถาบันการบินพลเรือน ปีการศึกษา 2558

สถาบันการบินพลเรือน รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี และระดับอนุปริญญา ผ่านรับตรง หลักสูตรวิชาภาคพื้น สถาบันการบินพลเรือน ปีการศึกษา 2558 มีรายละเอียดดังนี้

กำหนดการคัดเลือก


 

หลักสูตรและสาขาที่เปิดรับ และจำนวนที่รับ
           หลักสูตรระดับปริญญาตรี
           1.หลักสูตรเทคโนโลยีการบินบัณฑิต (4 ปี)  จำนวน 260 คน
           - สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการจราจรทางอากาศ
           - สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการท่าอากาศยาน
           - สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ
          2.หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (4 ปี)  จำนวน 60 คน
           - สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์การบิน
          หลักสูตรระดับอนุปริญญา
           - สาขาวิชานายช่างบำรุงรักษาอากาศยาน  จำนวน 32 คน
           - สาขาวิชานายช่างบำรุงรักษาอากาศยาน ภาคสมทบ จำนวน 32 คน
           - สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (เครื่องวัดประกอบการบิน) จำนวน 40 คน
           - สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (อิเล็กทรอนิกส์การบิน) จำนวน 40 คน
           - สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (อิเล็กทรอนิกส์การบิน) ภาคสมทบ จำนวน 20 คน
          หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)(2 ปี)
          1. หลักสูตรเทคโนโลยีการบินบัณฑิต
           - สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการท่าอากาศยาน จำนวน 20 คน
          2.หลักสูตรเทคโนโลยีการบินบัณฑิต
           - สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ จำนวน 20 คน

คุณสมบัติผู้สมัคร
           หลักสูตรระดับปริญญาตรี
           หลักสูตรเทคโนโลยีการบินบัณฑิต (4 ปี) สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการจราจรทางอากาศ,วิชาเอกการจัดการท่าอากาศยาน, วิชาเอกการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า  และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25
          หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (4 ปี) สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์การบิน
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25 
           - กําลังศึกษา หรือ สําเร็จการศึกษา ปวส. สาขาไฟฟ้ากําลัง อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์การบิน เครื่องวัดประกอบการบิน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
          หลักสูตรระดับอนุปริญญา
           สาขาวิชานายช่างบำรุงรักษาอากาศยาน
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25 
           - กําลังศึกษา ปวช. หรือ  สำเร็จการศึกษา ปวช.  สาขาช่างยนต์ ช่างกลโรงงาน เครื่องกล ไฟฟ้ากําลัง หรือ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
           สาขาวิชานายช่างบำรุงรักษาอากาศยาน ภาคสมทบ
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25 
           - กําลังศึกษา ปวช. หรือ  สำเร็จการศึกษา ปวช.  สาขาช่างยนต์ ช่างกลโรงงาน เครื่องกล ไฟฟ้ากําลัง หรือ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
           สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (เครื่องวัดประกอบการบิน)
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25
           - กําลังศึกษา ปวช. หรือ  สำเร็จการศึกษา ปวช.  สาขาไฟฟ้ากําลัง อิเล็กทรอนิกส์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
           สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (อิเล็กทรอนิกส์การบิน)
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25
           - กําลังศึกษา ปวช. หรือ  สำเร็จการศึกษา ปวช.  สาขาไฟฟ้ากําลัง อิเล็กทรอนิกส์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
           สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (อิเล็กทรอนิกส์การบิน) ภาคสมทบ
           - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.25
           - กําลังศึกษา ปวช. หรือ  สำเร็จการศึกษา ปวช.  สาขาไฟฟ้ากําลัง อิเล็กทรอนิกส์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
          หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)(2 ปี) หลักสูตรเทคโนโลยีการบินบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการบิน วิชาเอกการจัดการท่าอากาศยาน,วิชาเอกการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ
           - กําลังศึกษา หรือ สําเร็จการศึกษา ปวส. หรือ จบการศึกษาจากสถาบันการบินพลเรือน หลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งดังนี้(การควบคุมการจราจรทางอากาศ (ATC) ,สื่อสารการบิน (CO) ,การบํารุงรักษาอากาศยาน (AM) , อนุปริญญา สาขาวิชานายช่างบารํ ุงรักษาอากาศยาน (AMEL)  ,การบํารุงรักษาเครื่องวัดประกอบการบิน (AI)  , การบํารุงรักษาเครื่องสื่อสารการบิน (CM) )

เกณฑ์การคัดเลือก
            องค์ประกอบวิชาและค่าน้ำหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก รวม 100 คะแนน ดังนี้
            สอบวัดความรู้ (90%)
            - วิชาภาษาอังกฤษ 30%
            - วิชาคณิตศาสตร์ 25% 
            - วิชาฟิสิกส์ 25%
            - วิชาการใช้ทักษะการคิดเชิงเหตุผลและความรู้พื้นฐานด้านการบิน 10%
            สอบสัมภาษณ์ (10%) สอบสัมภาษณ์เป็นภาษาอังกฤษ เพื่อวัดความสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 พี่โดมแนะน้อง

รับตรง คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ปีการศึกษา 2558

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาผ่านรับตรง คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ปีการศึกษา 2558 รายละเอียดดังนี้

กำหนดการคัดเลือก
รับตรง คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ปีการศึกษา 2558

โครงการที่เปิดรับ
           โครงการลูกหลานชาวเรือ
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมต่อเรือ จำนวน 3 คน
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ(ผู้ปฏิบัติงานบนเรือ) จำนวน 3 คน
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมนอกฝั่ง จำนวน 2 คน
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ จำนวน 5 คน
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล จำนวน 5 คน
           โครงการรับตรง
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ(ผู้ปฏิบัติงานบนเรือ) จำนวน 15 คน
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมนอกฝั่ง จำนวน 15 คน
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ จำนวน 20 คน
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล จำนวน 10 คน
           โครงการช้างเผือก
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมต่อเรือ จำนวน 10 คน
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ(ผู้ปฏิบัติงานบนเรือ) จำนวน 10 คน
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมนอกฝั่ง จำนวน 10 คน
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ จำนวน 10 คน
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล จำนวน 20 คน
           โครงการสามจังหวัดชายแดนใต้
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมต่อเรือ จำนวน 1 คน
              กลุ่มวิชาวิศวกรรมนอกฝั่ง จำนวน 2 คน

คุณสมบัติผู้สมัคร
           โครงการลูกหลานชาวเรือ
           - ต้องมีหนังสือรับรองการเป็นบุตรหลานของบุคคลที่ปฏิบัติงานกิจการพาณิชนาวี ด้านการขนส่งสินค้าทางทะเล งานในอู่ต่อเรื่อ โรงงานซ่อมหรือสร้างเรือ และการประมงในทะเล
           - สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ กำลังศึกษา ม.6 หรือ ปวช.
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.50 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.20 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.20 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างอุตสาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์
            - กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ(ผู้ปฏิบัติงานบนเรือ)  และ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ รับเฉพาะเพศชายและต้องเป็นผู้ที่สามารถว่ายน้ำได้ 
           โครงการรับตรง
           - สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ กำลังศึกษา ม.6 หรือ ปวช.
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.50 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.20 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.20 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างอุตสาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์
            - กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ(ผู้ปฏิบัติงานบนเรือ)  และ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ รับเฉพาะเพศชายและต้องเป็นผู้ที่สามารถว่ายน้ำได้ 
           โครงการช้างเผือก
           - สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ กำลังศึกษา ม.6 หรือ ปวช.
           - มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 3.00 
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
           - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างอุตสาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์
            - กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ(ผู้ปฏิบัติงานบนเรือ)  และ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ รับเฉพาะเพศชายและต้องเป็นผู้ที่สามารถว่ายน้ำได้ 
           โครงการสามจังหวัดชายแดนใต้
           - สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ กำลังศึกษา ม.6 หรือ ปวช.
           - เป็นบุคคลสัญชาติไทยที่อาศัยอยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้(จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส)
           - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มีการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.50 ต้องศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ หรือ สายอุตสาหกรรมในสาขาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างกล ต่อเรือ อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง

เกณฑ์การคัดเลือก
           โครงการลูกหลานชาวเรือ
           - คะแนน GAT/PAT หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ(GAT+PAT1+PAT3)  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ, สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล(GAT+PAT1+PAT2)
           - การสอบสัมภาษณ์
           - การทดสอบพลศึกษาและว่ายน้ำ
           - การสอบข้อเขียน สำหรับผู้สมัครที่ไม่มีผลคะแนน GAT/PAT
           โครงการรับตรง
           - คะแนน GAT/PAT หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ(GAT+PAT1+PAT3)  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ, สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล(GAT+PAT1+PAT2)
           - การสอบสัมภาษณ์
           - การทดสอบพลศึกษาและว่ายน้ำ
           - การสอบข้อเขียน สำหรับผู้สมัครวุฒิ ปวช. ที่ไม่มีผลคะแนน GAT/PAT
           โครงการช้างเผือก
           - คะแนน GAT/PAT หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ(GAT+PAT1+PAT3)  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ, สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล(GAT+PAT1+PAT2)
           - การสอบสัมภาษณ์
           - การทดสอบพลศึกษาและว่ายน้ำ
           - การสอบข้อเขียน สำหรับผู้สมัครวุฒิ ปวช. ที่ไม่มีผลคะแนน GAT/PAT
           โครงการสามจังหวัดชายแดนใต้
           - คะแนน GAT/PAT หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ(GAT+PAT1+PAT3)
           - การสอบสัมภาษณ์
           - การสอบข้อเขียน สำหรับผู้สมัครวุฒิ ปวช. ที่ไม่มีผลคะแนน GAT/PAT

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี โดยวิธีรับตรง (แบบปกติ ) ปีการศึกษา 2558


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป


 


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี  โดยวิธีรับตรง
(แบบปกติ )   ปีการศึกษา 2558

 
กำหนดการรับสมัคร

            รับสมัคร  วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 – 5 มีนาคม 2558
 
โครงการที่เปิดรับ

               เปิดรับ 8 โครงการ 11 คณะ  

               - คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ และคณะอักษรศาสตร์  เลือกได้ 4 อันดับ
                - คณะนิติศาสตร์   เลือกได้ 1 อันดับ
                - คณะนิเทศศาสตร์  เลือกได้ 1 อันดับ
                - คณะเศรษฐศาสตร์  เลือกได้ 1 อันดับ
               - คณะวิทยาศาสตร์  เลือกได้ 1 อันดับ
                - คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี  เลือกได้ 1 อันดับ
               - คณะครุศาสตร์  เลือกได้ 1 อันดับ
               - คณะสหเวชศาสตร์  เลือกได้ 1 อันดับ
 


คุณสมบัติผู้สมัคร
 
          คณะวิศวกรรมศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.50
 
          คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
          - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า (ไม่รับ กศน. และ ปวช.)
          -  ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 3.00
 
          คณะรัฐศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.50
 
          คณะอักษรศาสตร์
          - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า
          - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.75
 
          คณะนิติศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.75
 
          คณะนิเทศศาสตร์
          - กำลังศึกษา ม.6
          - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.75
 
          คณะเศรษฐศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.75
 
          คณะวิทยาศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6 กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 3.00
         - ผลการเรียนเฉลี่ย(GPA) วิชาเคมี วิชาชีววิทยา วิชาฟิสิกส์ และคณิตศาสตร์ 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 3.25
 
          คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
         - กำลังศึกษา ม.6
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 3.00
 
          คณะครุศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6 หรือ สำเร็จการศึกษา ม.6 หรือ เทียบเท่า
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.00
 
          คณะสหเวชศาสตร์
         - กำลังศึกษา ม.6 กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์
         - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 5 ภาคเรียน ไม่ต่ำกว่า 2.75
 
องค์ประกอบคะแนนคัดเลือก
 
          คณะวิศวกรรมศาสตร์
            - คะแนน GAT + คะแนน PAT1 + คะแนน PAT3
 
         คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
           - คะแนน PAT4 + คะแนน 7 วิชาสามัญ (วิชาภาษาอังกฤษ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาฟิสิกส์)
 
         คณะรัฐศาสตร์
           - คะแนน GAT + คะแนน PAT1 หรือ PAT7
 
          คณะอักษรศาสตร์
           - คะแนน PAT1 หรือ PAT7 + คะแนน 7 วิชาสามัญ (วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาไทย วิชาสังคมศึกษา)
 
          คณะนิติศาสตร์
           - คะแนน GAT + คะแนน PAT1 หรือ PAT7 + คะแนน 7 วิชาสามัญ (วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาไทย วิชาสังคมศึกษา)
 
          คณะนิเทศศาสตร์
           - คะแนน GAT + คะแนน PAT1 หรือ PAT7
 
          คณะเศรษฐศาสตร์
          - คะแนน GAT + คะแนน PAT1 + คะแนน 7 วิชาสามัญ (วิชาสังคมศึกษา)
 
          คณะวิทยาศาสตร์
            - คะแนน GAT + คะแนน CU-Science (วิชาคณิตศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ วิชาเคมี วิชาชีววิทยา) หรือ คะแนน 7 วิชาสามัญ (วิชาคณิตศาสตร์ วิชาฟิสิกส์ วิชาเคมี วิชาชีววิทยา)
 
          คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
            - หลักสูตรบัญชีบัณฑิต และ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คะแนน GAT + คะแนน PAT1
            - หลักสูตรสถิติศาสตรบัณฑิต คะแนน GAT + คะแนน PAT1 + คะแนน PAT2
 
          คณะครุศาสตร์
              - คะแนน GAT/PAT + คะแนน 7 วิชาสามัญ (ใช้บางวิชา ขึ้นอยู่กับสาขาที่เลือกสมัคร)
 
         คณะสหเวชศาสตร์
              -  คะแนน GAT + คะแนน PAT1 + คะแนน PAT2
 
 
ผู้ที่สมัครรับตรง แบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 แล้ว สามารถสมัครรับตรง แบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 ได้ ถ้าไม่ได้รับการคัดเลือก หรือ ได้รับการคัดเลือกแต่ไม่ยืนยันสิทธิ์ รับตรง แบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558
 
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ และคณะอักษรศาสตร์ คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะนิติศาสตร์ คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะนิเทศศาสตร์ คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะเศรษฐศาสตร์ คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะวิทยาศาสตร์ คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะครุศาสตร์ คลิกที่นี่
           -   ระเบียบการรับสมัคร คณะสหเวชศาสตร์ คลิกที่นี่

 
 
* แบบรายงานการตรวจสุขภาพและเอกซเรย์ทรวงอก สำหรับผู้สมัครสาขาวิชากายภาพบำบัด
* แบบรายงานการตรวจสุขภาพและเอกซเรย์ทรวงอก สำหรับผู้สมัครสาขาวิชารังสีเทคนิค



สำหรับผู้ที่รายงานตัวและยืนยันสิทธิ์ในโครงการ/คณะ/สาขาวิชา โดยวิธีรับตรง (แบบพิเศษ) ปีการศึกษา 2558 แล้วไม่สามารถสมัครเข้ารับการคัดเลือกในโครงการรับนักเรียนเข้าศึกษาในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  โดยวิธีรับตรง (แบบปกติ) ปีการศึกษา 2558 นี้ ได้อีก

 
นักเรียนที่ศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี่่ที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2557  ให้ใช้ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX)  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 (ภาคต้น) รวม 5 ภาคการศึกษา  สำหรับการสมัครคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยวิธีรับตรง (แบบปกติ) ปีการศึกษา 2558  ในระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ - 5 มีนาคม 2558  โดยผู้สมัครจะต้องเตรียมระเบียนแสดงผลการเรียนที่แสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 5 ภาคการศึกษาให้พร้อมก่อนกำหนดการรับสมัคร และจะต้องนำเอกสารดังกล่าวมาแสดงในวันสอบสัมภาษณ์


เว็บไซต์  การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี  โดยวิธีรับตรง (แบบปกติ )  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558  คลิกที่นี่





By : P'ํ Ying  Eduzones
ขอบคุณข้อมูลจาก :  http://www.admissions.chula.ac.th/normal-match.html

 

คุรุสภาประกาศเพิ่ม 108 สาขาขาดแคลน บรรจุเป็นครูได้



                     ประกาศเพิ่ม108สาขาขาดแคล

กลางเดือนตุลาคมที่ผ่านมา คุรุสภาได้ประกาศ 86 สาขา เป็นสาขาวิชาชีพที่ขาดแคลน สามารถสมัครสอบบรรจุเป็นข้าราชการครูได้ ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) เสนอ
 
ล่าสุด บอร์ดคุรุสภา ได้ประกาศสาขาวิชาที่ขาดแคลนเพิ่มเติม ของสอศ.รวมเป็น 98 สาขา และเป็นสาขาขาดแคลนในส่วนของ สพฐ. อีก 10 สาขา พร้อมเปิดทางให้ผู้ที่ได้รับทุนการศึกษาทุกประเภทสมัครสอบเป็นครูได้อีกด้วย

ตรวจสอบกันดูครับว่าทั้ง 108 สาขามีอะไรบ้าง...

ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม 
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม, ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, ไฟฟ้ากำลัง, โทรคมนาคม, แมคคาทรนิกส์,เครื่องวัดและควบคุม, เทคนิคอุตสาหกรรม, เทคนิคการผลิต, ช่างกลโรงงาน, เขียนแบบเครื่องกล, เครื่องกล, เครื่องมือและซ่อมบำรุง, ช่าง เชื่อมโลหะ/เทคนิคโลหะ, แม่พิมพ์โลหะ, แม่พิมพ์พลาสติก, ช่างยนต์, ช่างก่อสร้าง, โยธา, ช่างสำรวจ, สถาปัตยกรรม/มัณฑนศิลป์/ออกแบบตกแต่ง, อุตสาหกรรมเครื่องเรือน และตกแต่งภายใน, อุตสาหกรรมต่อเรือ, พาณิชย์นาวี, การ จัดการโลจิสติกส์, อุตสาหกรรมยาง, เทคโนโลยียางและโพลิเมอร์, ปิโตรเคมี, การพิมพ์, การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย, การขุดเจาะน้ำมัน, เทคโนโลยีแสงและเสียง, ปิโตรเลียม, เทคนิคพลังงาน, เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และช่างอุตสาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว,การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ, การท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวิชาเลขานุการ, การจัดการธุรกิจ, การจัดการสำนักงาน, การตลาด, การบัญชี, บริหารธุรกิจและพณิชยการ, โลจิสติกส์, คอมพิวเตอร์ธุรกิจ, ธุรกิจค้าปลีก และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ, เสื้อผ้าสำเร็จรูป และเคมีสิ่งทอ ประเภทวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรอุตสาหกรรม, ช่างกลเกษตร,เทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร, เทคโนโลยีภูมิทัศน์, ผลิตภัณฑ์ยาง, พืชศาสตร์, สัตวศาสตร์, พืชไร่ และปฐพีวิทยา ประเภทวิชาการประมง สาขาวิชาการควบคุมเครื่องจักร (เรือประมง), ประมงทะเล, เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, แปรรูปสัตว์น้ำและอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ
 
ประเภทวิชาคหกรรม 

สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์, คหกรรมศาสตร์,เทคโนโลยีการออกแบบเครื่องแต่งกาย, เทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย,แฟชั่นและสิ่งทอ, สปาและความงาม และเสริมสวย (เทคโนโลยีความงาม)

ประเภทวิชาศิลปกรรม 
สาขาวิชาวิจิตรศิลป์, ศิลปกรรม, เซรามิก/เทคโนโลยีเครื่องเคลือบดินเผา,ศิลปหัตถกรรม (รูปพรรณและเครื่องสาน),การออกแบบเครื่องประดับ และอัญมณี, ช่างทองหลวง, การออกแบบ, คอมพิวเตอร์กราฟิกส์, คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย, การถ่ายภาพและวีดิทัศน์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องหนัง

สาขาวิชาขาดแคลนตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) เสนอเพิ่มเติมอีก 12 สาขา ได้แก่ นิติศาสตร์ อาหารและโภชนาการ/โภชนาการชุมชน การโรงแรม/การโรงแรมและบริการ/ธุรกิจโรงแรม เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เคมีอุตสาหกรรม วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม วิศวกรรมพลังงาน/พลังงานทดแทน เทคโนโลยีระบบราง/วิศวกรรมขนส่งระบบราง เทคโนโลยีอุตสาหกรรมบันเทิง/แอนนิเมชั่น การตลาดดิจิตอล อุตสาหกรรมศิลป์ และช่างเครื่องเรือนและตกแต่ง โดยที่ประชุมได้พิจารณาอย่างละเอียดแล้วเห็นว่าเป็นสาขาที่คณะครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ไม่ได้เปิดสอน 

สาขาวิชาขาดแคลนที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอ 10 สาขา เนื่องจากเป็นสาขาที่คณะครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ไม่ได้สอน ได้แก่ สาขาภาษาสเปน ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด จิตวิทยาคลีนิค แพทย์แผนไทยประยุกต์ แพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์

นอกจากนี้ที่ประชุมยังได้เห็นชอบให้ผู้ที่ได้รับทุนการศึกษาทุกประเภทที่ไม่ได้จบสายครูสามารถสมัครสอบเข้าเป็นครูได้ แต่ต้องมีการพัฒนาตนเองภายใน 2 ปี เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามเกณฑ์ของคุรุสภาด้วย โดยสำหรับหลักเกณฑ์ปฏิบัตินั้น ได้กำหนดว่าเมื่อสอบบรรจุเป็นครูได้แล้ว ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด คือ ภายในระยะเวลา 2 ปี ต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ส่วนสถานศึกษาที่จัดโครงการพิเศษ สามารถนำบุคคลภายนอกที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูมาช่วยงานได้ โดยแต่ละโครงการต้องมีระยะเวลาไม่เกิน 4 ปี หลังสิ้นสุดโครงการ ให้ถือว่าพ้นสถานะไป
..............................
ข้อมูล-คุรุสภา http://www.ksp.or.th/

โค้งสุดท้าย รับตรง ม.เกษตรศาสตร์ ปิดรับสมัคร 2 ก.พ.นี้ / Update สาขายอดนิยม/สาขาแข่งขันสูงสุด

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีนโยบายที่จะรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระบบรับตรง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ KU Admission ประจำปีการศึกษา 2558 โดยรับรวมทุกวิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตกำแพงแสน วิทยาเขตศรีราชา และวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร รวมจำนวนทั้งสิ้น 184 สาขา จำนวน 5,118 คน โดยปิดรับสมัครในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เท่านั้นนะครับ
หน้าเว็บไซต์รับสมัคร  http://admission.ku.ac.th/
ตอนนี้ยอดสมัคร ทุกวิทยาเขตเกิน 1.3 ใบสมัครไปเป็นที่เรียบร้อย
ยอดใบสมัครจากวิทยาเขตบางเขนเพิ่มถึง 2 หมื่นใบเลย
30 สาขา ที่มียอดสมัครมากที่สุด
สาขายอดนิยม มากันพร้อมหน้าเลยครับ ทั้ง ภาษาอังกฤษ สัตวแพทย์ เศรษฐศษสตร์ บัญชี
30 สาขา ที่มีอัตราแข่งขันสูงที่สุด
สาขารัฐศาสตร์รับน้อยมากแค่ 3 คน คนสอบติดคงคะแนนสูงมาก