วันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
10 อันดับ คะแนนสูงสุด Admission 54
0. น.ส.ลออรัตน์ จงฐิตินนท์
น.ส.ลออรัตน์ จงฐิตินนท์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 82.21
9. นายปรัชญ์วรกิตติ์ แก้วศิริรัตน์
นายปรัชญ์วรกิตติ์ แก้วศิริรัตน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จ.นครปฐม คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 83.59
8. น.ส.เบญญดา ถาวรเศรษฐ
น.ส.เบญญดา ถาวรเศรษฐ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนสตรีวิทยา 2 คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 83.87
7 น.ส.ปริณดา วงศ์เบญจรัตน์
น.ส.ปริณดา วงศ์เบญจรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ84.46
6 น.ส.ตะวันรัตน์ รุ่งปัญญารัตน์
น.ส.ตะวันรัตน์ รุ่งปัญญารัตน์ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนสตรีวัดระฆัง คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ84.69
5. น.ส.กานตา ทิพย์ธาร
น.ส.กานตา ทิพย์ธาร คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ86.98
4. นายนพพล สิระนาท
นายนพพล สิระนาท คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ87.04
3 น.ส.ชนิษฐา ปุณณวัฒน์
น.ส.ชนิษฐา ปุณณวัฒน์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากโรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพฯ คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 87.46
2. น.ส.บุลพร แซ่ลิ่ม
น.ส.บุลพร แซ่ลิ่ม คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จ.สงขลา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ89.53
1. นายรัตน์ ปทุมวัฒน์
นายรัตน์ ปทุมวัฒน์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ93.21
9. นายปรัชญ์วรกิตติ์ แก้วศิริรัตน์
นายปรัชญ์วรกิตติ์ แก้วศิริรัตน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จ.นครปฐม คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 83.59
8. น.ส.เบญญดา ถาวรเศรษฐ
น.ส.เบญญดา ถาวรเศรษฐ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนสตรีวิทยา 2 คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 83.87
7 น.ส.ปริณดา วงศ์เบญจรัตน์
น.ส.ปริณดา วงศ์เบญจรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ84.46
6 น.ส.ตะวันรัตน์ รุ่งปัญญารัตน์
น.ส.ตะวันรัตน์ รุ่งปัญญารัตน์ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนสตรีวัดระฆัง คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ84.69
5. น.ส.กานตา ทิพย์ธาร
น.ส.กานตา ทิพย์ธาร คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ86.98
4. นายนพพล สิระนาท
นายนพพล สิระนาท คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ87.04
3 น.ส.ชนิษฐา ปุณณวัฒน์
น.ส.ชนิษฐา ปุณณวัฒน์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากโรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพฯ คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 87.46
2. น.ส.บุลพร แซ่ลิ่ม
น.ส.บุลพร แซ่ลิ่ม คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จ.สงขลา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ89.53
1. นายรัตน์ ปทุมวัฒน์
นายรัตน์ ปทุมวัฒน์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ93.21
Top 5 คณะยอดฮิตของเด็ก ม.ปลาย สายวิทย์ L
วันนี้ พี่ลาเต้ เลยมี “5 อันดับยอดนิยมตลอดกาลของน้องๆ สายศิลป์ และสายวิทย์” ของโรงเรียนมัธยมทั่วประเทศที่มาคำนวณหาคณะในฝันของตัวเองกันที่ “โปรแกรมคำนวณคะแนนแอดมิชชั่นให้ติดชัวร์” ว่าแต่จะมีคณะไหนเข้าวินบ้างนั้น ไปอ่านกันเลยยย
เป็นคณะสายวิทย์ที่แรงดีไม่มีตกจริงๆ เพราะนักเรียนชายแมนๆ หรือนักเรียนหญิงที่อยากลุยของสายวิทย์คณิตหลายคน ต่างพลีกายเทใจไปที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ กันซะเกือบครึ่งประเทศ โดยเฉพาะ คณะวิศวฯ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
น้องเคน ไตรวุฒิ สิริภานัย ตัวแทนนักเรียน ม.6 สายวิทย์ โรงเรียนทวีธาภิเศก เล่าว่า “วันที่เปิดรับสมัคร เด็กห้องวิทย์ โดดเรียนไปสมัครกันยกห้อง”
อันดับ 4 คณะวิทยาศาสตร์ (10%)
เรียนสายวิทย์มา 3 ปี หากจะไปต่อมหาลัยในคณะสายศิลป์ก็กลัวความรู้ที่ร่ำเรียนมาจะไม่ได้ใช้ประโยชน์ (แม้จะตกเคมี 3 ปีซ้อนก็ตาม- -") ดังนั้น เด็กวิทย์ทั้งหลาย จึงพร้อมใจพาเหรดลงสอบคณะวิทยาศาสตร์กันให้พรึบ!! โดยเฉพาะคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่ดูยอดที่มาสมัครรับตรงปี 54 แล้ว นึกว่า “รอแจกข้าวสารฟรี” เพราะคิวลำดับเลขที่ยาวมากกก
สอดคล้องกับที่ น้องผึ้ง ศิรินภา พาณิช ตัวแทนม.6 สายวิทย์-คณิต ร.ร.ศึกษานารี ที่แอบเมาท์มาว่า “คณะวิทยาศาสตร์เป็นคณะตัวตายของเด็กวิทย์ที่โรงเรียน ไม่ว่าจะเก่งขั้นเทพ หรือสามัญชน หากเรียนสายวิทย์ เป็นต้องสมัครนี้เอาไว้ก่อน”
อันดับ 3 คณะเภสัชศาสตร์ (11%)
เป็นคณะยอดฮิตที่มีเหตุผลฟังขึ้นมากๆ เพราะบางคนถึงแม้เรียนวิทย์คณิตมาก็ตาม แต่การที่จะสอบเข้าคณะแพทย์นั้น “มันสูงเกิน” คณะเภสัชศาสตร์ จึงเป็นคณะรองรับน้องๆ ที่อยากทำงานขนานไปกับแพทย์
ข้อความนี้พิสูจน์ได้จากคำสัมภาษณ์ของ น้องป๋อม วิโรจน์ กาญจนราช ม.6 สายวิทย์ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ที่กระซิบบอกมาว่า “ตัวเองเป็นคนเกรดน้อย สอบ GAT ก็น้อย จะสอบแพทย์คงไม่ไหว เลยเลือกเรียนด้านเภสัชฯ หรือสหเวช เพราะได้ช่วยเหลือคนในเส้นทางสายสุขภาพเหมือนกัน”
อันดับ 2 คณะแพทยศาสตร์ (18%)
เป็นคณะที่รับน้อย และรับครั้งเดียว หากหลุดก็หลุดเลย T^T (สอบใหม่ปีหน้า) แต่คณะแพทยศาสตร์ ก็ยังเป็นคณะมาแรงที่เด็กสายวิทย์อยากเรียนเป็นลำดับต้นๆ ไม่ว่าเหตุผลที่อยากเรียนจะมาจากตัวเอง หรือพ่อแม่บังคับก็ตาม โดยเฉพาะคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี ม.มหิดล ทำสถิติคะแนนสอบเข้าที่น่าขนลุกมากๆ
น้องบอย ม.6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เล่าว่า “เขาเป็นหนึ่งในคนที่อยากเรียนแพทย์ แต่เห็นคะแนนต่ำสุดของปีก่อนๆ แทบถอดใจ นี่ถ้าไม่ติดว่าเป็นอาชีพที่ชอบจริงๆ และเพื่อพ่อแม่ ไม่กัดฟันสู้มาถึงวันนี้”
อันดับ 1 คณะทันตแพทยศาสตร์ (25%)
คงที่อยู่ในอันดับที่ 1 มาหลายสมัยแล้ว สำหรับคณะทันตแพทยศาสตร์ นับเป็นคณะจุดสุดยอดที่เด็กสายวิทย์ใฝ่ฝันถึง หลายคนไม่ติดแพทย์ ก็มุ่งมาทันตะฯ ขณะที่อีกหลายคนไม่กล้าฝันจะเรียนแพทย์ ก็มาลองทันตะฯ คณะนี้จึงถูกเลือกเยอะที่สุดของนักเรียนมัธยมสายวิทย์
ซึ่งก็ตรงกับที่ น้องกลาง ม.6 โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย ที่เล่าถึงเพื่อนตัวเองว่า “เพื่อนผมในห้องไม่ติดหมอ พอแอดมิชชั่นกลางก็มาลงมี่คณะทันตะฯ ยกแก๊งค์เลย จนคนที่อยากเรียนทันตะฯ จริงๆ ต่างจิตตกไปตามๆ กัน”
เอาล่ะ คณะในฝันของใครคนไหนเข้าวินติด Top 5 กันบ้างครับ ยังไงเต็มที่สู้ตายนะครับ เด็กแอดฯ 55 เหลือเวลาเตรียมตัวอีก 1 ปีใช้เวลาที่เหลือให้คุ้มค่าเต็มที่ พี่ลาเต้ เป็นกำลังใจให้ ส่วนครั้งหน้าเป็นคิวคณะยอดฮิตของสายศิลป์ รอติดตามได้เลย
credit:dekdee
ออกแล้ว …กำหนดการรับสมัครและตารางสอบ GAT/PAT ปี55
การสอบ GAT/PAT ประจำปีการศึกษา 2555 (สำหรับการยื่นสมัคร Admissions ประจำปีการศึกษา 2555)
credit:Eduzone
- การปรับลดจำนวนสอบ GAT/PAT เหลือปีละ 2 ครั้ง
- กำหนดการรับสมัคร และตารางสอบ GAT/PAT ครั้งที่ 1/2555
- กำหนดการรับสมัคร และตารางสอบ GAT/PAT ครั้งที่ 2/2555
- คู่มือการใช้ระบบ GAT/PAT สำหรับผู้สมัคร
credit:Eduzone
แนะนำโปแกรมค้นหาตัวเอง อาชีพไหนที่ใช่เรา
น้องๆ อาจจะสงสัยว่า เอ๊ะ บุคลิกลักษณะอย่างเราเนี่ย ควรจะประกอบอาชีพอะไร ทำงานอะไรแล้วถึงจะรุ่งนะ วันนี้โปรแกรมนี้ ช่วยน้องๆ หาคำตอบให้ได้ค่ะ ซึ่งโปรแกรมนี้จะช่วยเป็นแนวทางในการศึกษาต่อ และ ช่วยเสริมความมั่นใจในการเลือกอาชีพการงานได้ด้วย เพราะฉะนั้นจึงเหมาะกับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไป ค่ะ
โดยการค้นหาอาชีพไหนที่ใช่ ที่เหมาะกับตัวเรานั้น ใช้หลักการและแนวทางของ Holland นักจิตวิทยาด้านบุคลิกภาพ ซึ่งสร้างจากองค์ประกอบหลักสามอย่างคือ
1 คุณลักษณะที่เหมาะสมในอาชีพด้านต่างๆ
2 การค้นหาจุดเด่นของผู้ทดสอบ
3 การวัดค่านิยมในวิชาชีพต่างๆ
โดยนำมาจัดทำเป็นโปรแกรม และประมวลผลเป็นอาชีพต่างๆที่เหมาะสมต่อผู้ทำการทดสอบมีการนำเสนออาชีพที่ทันสมัย และน่าสนใจในปัจจุบันและอนาคต โดยเราได้เปิดให้ใช้บริการตั้งแต่ปี 2006 และได้รับการยอมรับเป็นอย่างดีจากผู้ทำการทดสอบ
อยากลองแล้วใช่มั้ยล่ะ เริ่มทำแบบทดสอบกันได้เลย คลิก >> อาชีพไหนที่ใช่เรา
ปล. แบบทดสอบชุดนี้ไม่ได้นำส่วนประกอบอื่นๆ มาพิจารณานอกเหนือจากที่กล่าวไว้ข้างต้น น้องๆควรทำแบบทดสอบด้านอื่นๆเพิ่มเติมด้วย เช่น แบบทดสอบความถนัดในด้านต่างๆ และความถนัดในด้านการเรียน และขอคำปรึกษาเพิ่มเติมจากอาจารย์ฝ่ายแนะแนว หรือจะขอคำปรึกษาจากคณะอาจารย์ที่ปรึกษาของ WWW.EDUZONES.COM ในโซนปรึกษาคณาจารย์ก็ได้ค่ะ
โดยการค้นหาอาชีพไหนที่ใช่ ที่เหมาะกับตัวเรานั้น ใช้หลักการและแนวทางของ Holland นักจิตวิทยาด้านบุคลิกภาพ ซึ่งสร้างจากองค์ประกอบหลักสามอย่างคือ
1 คุณลักษณะที่เหมาะสมในอาชีพด้านต่างๆ
2 การค้นหาจุดเด่นของผู้ทดสอบ
3 การวัดค่านิยมในวิชาชีพต่างๆ
โดยนำมาจัดทำเป็นโปรแกรม และประมวลผลเป็นอาชีพต่างๆที่เหมาะสมต่อผู้ทำการทดสอบมีการนำเสนออาชีพที่ทันสมัย และน่าสนใจในปัจจุบันและอนาคต โดยเราได้เปิดให้ใช้บริการตั้งแต่ปี 2006 และได้รับการยอมรับเป็นอย่างดีจากผู้ทำการทดสอบ
อยากลองแล้วใช่มั้ยล่ะ เริ่มทำแบบทดสอบกันได้เลย คลิก >> อาชีพไหนที่ใช่เรา
ปล. แบบทดสอบชุดนี้ไม่ได้นำส่วนประกอบอื่นๆ มาพิจารณานอกเหนือจากที่กล่าวไว้ข้างต้น น้องๆควรทำแบบทดสอบด้านอื่นๆเพิ่มเติมด้วย เช่น แบบทดสอบความถนัดในด้านต่างๆ และความถนัดในด้านการเรียน และขอคำปรึกษาเพิ่มเติมจากอาจารย์ฝ่ายแนะแนว หรือจะขอคำปรึกษาจากคณะอาจารย์ที่ปรึกษาของ WWW.EDUZONES.COM ในโซนปรึกษาคณาจารย์ก็ได้ค่ะ
แนะนำโปรแกรมค้นหาตัวเองสาขาแห่งอนาคต
แบบทดสอบนี้ เหมาะกับใคร ?
แบบทดสอบนี้ เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา อายุระหว่าง 15-22 ปี หรือน้องๆม.ปลาย และน้องๆที่เรียนอยู่ในระดับอุดมศึกษานั่นเองค่ะ แต่คนอื่นๆ ที่อายุน้อยกว่า หรือมากกว่านี้ ถ้าสนใจอยากลองทำดู ก็ไม่ผิดกติกาค่ะ
แบบทดสอบนี้ ช่วยอะไรเราได้บ้าง ?
แบบทดสอบนี้ จะช่วยตรวจสอบบุคลิกภาพของเรา และสาขาอาชีพที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพ ซึ่งจะช่วยให้เราเตรียมตัวในการเลือก หรือการวางแผนการเรียนในอนาคตต่อไปค่ะ โดยบุคลิกภาพที่ใช้ในการทำแบบทดสอบนี้ จะแบ่งจากความคุ้นชินในการแสดงออก โดยแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้ลักษณะบุคลิกภาพได้ 16 แบบ
1. การหันเข้าหาคน คนจำพวกหนึ่งมัก
- หันเข้าหาคนอื่นหรือโลกภายนอก (Extroversion)
- ส่วนคนอีกพวกหนึ่งมักหันเข้าหาตัวเอง (Introversion)
2. การรับข้อมูล คนจำพวกหนึ่งถนัด
- การรับรู้ด้วยผัสสะ (Sensing)
- อีกพวกหนึ่งรับรู้ด้วยญาณทัศนะ (Intuition)
3. การประเมินสถานการณ์ คนจำพวกหนึ่งตัดสิน
- ด้วยความคิด (Thinking)
- ในขณะที่อีกพวกหนึ่งตัดสินด้วยความรู้สึก (Feeling)
4. การดำเนินชีวิต พวกหนึ่งชอบ
- ความเป็นระบบและชอบรวบรัด (Judging)
- อีกพวกหนึ่งปล่อยไปตามธรรมชาติและเปิดทางเลือกไว้เสมอ (Perceiving)
อยากรู้แล้วใช่ไหมคะ ว่าเราจะมีบุคลิกภาพแบบไหน และเหมาะกับสาขาอาชีพอะไร
เข้าไปลองทำแบบทดสอบกันได้เลย คลิก >> แบบทดสอบสาขาแห่งอนาคต
ทำแล้วได้แบบไหน อย่าลืมมาเล่าให้ฟังกันบ้างนะคะ อิอิ ^__^
แบบทดสอบนี้ เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา อายุระหว่าง 15-22 ปี หรือน้องๆม.ปลาย และน้องๆที่เรียนอยู่ในระดับอุดมศึกษานั่นเองค่ะ แต่คนอื่นๆ ที่อายุน้อยกว่า หรือมากกว่านี้ ถ้าสนใจอยากลองทำดู ก็ไม่ผิดกติกาค่ะ
แบบทดสอบนี้ ช่วยอะไรเราได้บ้าง ?
แบบทดสอบนี้ จะช่วยตรวจสอบบุคลิกภาพของเรา และสาขาอาชีพที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพ ซึ่งจะช่วยให้เราเตรียมตัวในการเลือก หรือการวางแผนการเรียนในอนาคตต่อไปค่ะ โดยบุคลิกภาพที่ใช้ในการทำแบบทดสอบนี้ จะแบ่งจากความคุ้นชินในการแสดงออก โดยแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้ลักษณะบุคลิกภาพได้ 16 แบบ
1. การหันเข้าหาคน คนจำพวกหนึ่งมัก
- หันเข้าหาคนอื่นหรือโลกภายนอก (Extroversion)
- ส่วนคนอีกพวกหนึ่งมักหันเข้าหาตัวเอง (Introversion)
2. การรับข้อมูล คนจำพวกหนึ่งถนัด
- การรับรู้ด้วยผัสสะ (Sensing)
- อีกพวกหนึ่งรับรู้ด้วยญาณทัศนะ (Intuition)
3. การประเมินสถานการณ์ คนจำพวกหนึ่งตัดสิน
- ด้วยความคิด (Thinking)
- ในขณะที่อีกพวกหนึ่งตัดสินด้วยความรู้สึก (Feeling)
4. การดำเนินชีวิต พวกหนึ่งชอบ
- ความเป็นระบบและชอบรวบรัด (Judging)
- อีกพวกหนึ่งปล่อยไปตามธรรมชาติและเปิดทางเลือกไว้เสมอ (Perceiving)
อยากรู้แล้วใช่ไหมคะ ว่าเราจะมีบุคลิกภาพแบบไหน และเหมาะกับสาขาอาชีพอะไร
เข้าไปลองทำแบบทดสอบกันได้เลย คลิก >> แบบทดสอบสาขาแห่งอนาคต
ทำแล้วได้แบบไหน อย่าลืมมาเล่าให้ฟังกันบ้างนะคะ อิอิ ^__^
7 ข้อ ต้องรู้ ต้องดู ใน Admissions
วันนี้สอท. เปิด www.cuas.or.th ให้เลือกคณะแล้ว ก่อนจะเลือก เข้าไปประเมินโอกาสสอบติดใน EZ Forecast ก่อนนะคะ ใครใช้แล้ว ได้ผลมาแล้ว กำลังจะสมัคร พี่นิดมี 7 ข้อ ที่เราต้องรู้ ต้องดู ใน Admissions ค่ะ
1. มีคะแนน ไม่ครบ อย่าเลือก เราต้องมีคะแนนครบทุกวิชา ตามที่คณะกำหนดค่ะ เช่น อยากเรียนเศรษฐศาสตร์การเกษตร ม.ขอนแก่น รหัส 0314 เป็นเศรษฐศาสตร์ ที่อยู่ในคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งกำหนดใช้ PAT1 และ PAT2 เราอยากเรียนเศรษฐศาสตร์ ที่มีคะแนน PAT1 ไม่มี PAT2 แบบนี้เลือกไม่ได้นะคะ หมดสิทธิ์
2. ไม่ผ่านเกณฑ์ อย่าเลือก บางคณะจะกำหนดคะแนนขั้นต่ำแต่ละวิชาที่น้องจะต้องได้ ซึ่งเรื่องนี้ได้อธิบายไว้แล้วในเรื่อง Admissions นี้ หนูมีปัญหา - -!! ถึงแม้คะแนนรวมน้องจะระดับเทพ แต่บางวิชาไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ถือว่าไม่ผ่าน หมดสิ้นลุ้น เลือกไปก็เสียดายอันดับ เสียดายเงินค่ะ
3.รับรวม เลขลวงตา มายาลวงใจ ตรวจสอบให้ดีว่าจำนวนรับที่แจ้งไว้เป็นจำนวนของรหัสคณะเดียว หรือเป็นจำนวนรับรวม เช่น รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง ม.ธรรมศาสตร์ รับ 50 คน วู้ววว หมูๆ แต่ดูดีๆ ค่ะ จำนวน 50 คนเนี่ย เป็นการรับรวมของการเลือกสอบทั้งหมด 6 แบบ จากทั้งวิทย์และศิลป์ เหงื่อตก! หรือคณะมนุษยศาสตร์ มศว. รหัส 1411-1417 ทั้งหมด 7 รหัสรวมกัน รับแค่ 10 คน ข้อมูลนี้จะช่วยเราประเมินอัตราการแข่งขันได้ค่ะ
4. ไม่ใช่ตัวเรา อย่าเลือก อันนี้สำคัญมาก!!!! เปิดระเบียบการไปที่หน้า 203ค่ะ ดูให้ดีว่าคณะ สาขาวิชา มหาวิทยาลัยที่เราจะเลือก เค้ากำหนดคุณสมบัติผู้สมัครไว้ยังไงบ้างทั้งเรื่องแผนการเรียน เกรดเฉลี่ย สุขภาพร่างกาย สมรรถภาพร่างกาย ความสามารถเฉพาะด้านที่ต้องการ เช่น
ซึ่งคุณสมบัติผู้สมัครเหล่านี้ จะไม่มีการตรวจสอบตอนที่น้องสมัครเลือกคณะเข้าไป เค้าจะไปตรวจวันสัมภาษณ์และตรวจร่างกายค่ะ น้องอาจจะทำคะแนนดี ผ่านข้อเขียนเข้าไปได้ แต่ถ้าคุณสมบัติไม่ครบตามที่กำหนด หรือมีคุณสมบัติที่เป็นข้อห้าม ก็มีโอกาสสูงที่จะตกรอบสัมภาษณ์ ซึ่งก็แปลว่าสอบไม่ติดนะคะ เสียใจ เสียดาย เสียโอกาส ที่สำคัญเสียอารมณ์ ดังนั้นตรวจสอบคุณสมบัติให้ดีก่อนเลือกนะคะ
5. รหัสผิด หมดสิทธิ์ลุ้น ถึงตอนสมัครคัดเลือก สมัครแล้วตรวจสอบรหัสที่เลือกให้ถูกต้องด้วยนะคะ เช่น รักเด็ก อยากเป็นครู เลือกครุศาสตร์การประถมศึกษา จุฬาฯ รหัส 0038 แต่ตอนสมัครพลาด ดันไป click 0083 กลายเป็นมนุษยศาสตร์ การท่องเที่ยว ม.เกษตรฯ แบบเลือกสอบวิชาอาหรับ กรรมแล้วค่ะ อาหรับไม่ได้สอบ จบข่าว! หมดสิทธิ์ลุ้นทั้ง 0038 และ 0083 ค่ะ
6.จ่ายเงินแล้ว ไม่ใช่แล้วกันไป สมัครเสร็จถ้ามั่นใจว่าอันนี้ล่ะ แน่ๆ แล้ว ก็ print ใบสมัคร เอาไปจ่ายเงินค่าสมัครที่ธนาคารได้เลยค่ะ จ่ายเงินเสร็จก็ถือว่าการสมัครคัดเลือก ครบถ้วน แต่...อย่าชะล่าใจค่ะ ใช้รหัสการสมัคร เข้ามาตรวจสอบการชำระเงินอีกที ถ้าครบกำหนดแล้ว (เช่นหลังจากการชำระเงิน 2 วัน) ตรวจแล้ว สถานะเป็น ยังไม่ชำระ ต้องรีบติดต่อ สอท. ด่วนเลย ใบสมัครส่วนที่ธนาคารคืนให้เก็บให้ดีๆนะคะ ใช้เป็นหลักฐานกรณีมีปัญหา และใช้อีกทีตอนสอบสัมภาษณ์ค่ะ ...ขอให้มีโอกาสได้ใช้ใบนี้กันนะคะ ^^
7. ไม่อยากเรียน อย่าเลือก อาจารย์แซม โรงเรียนบางกะปิ ได้พูดถึงการเลือกคณะไว้ว่า ‘ไม่ใช่แค่สอบให้ติด แต่เราต้องสอบให้ติดอย่างมีคุณภาพ’ คือติดในคณะที่อยากเรียน และเรียนได้ ไม่ใช่อะไรก็ได้ ขอแค่ให้ติด อย่างนั้นติดไปอาจจะเรียนไม่รอด หรือไม่มีความสุขค่ะ อยากเรียนอะไรก็เลือก เลือกในสิ่งที่อยากเรียน ไม่อยากเรียน อย่าเลือกนะคะ
เตรียมตัวมาตั้งนาน อ่านหนังสือมาเป็นปีๆ อย่ามาพลาดเอาตอนสุดท้ายนี้ล่ะ คิดดีๆ พิจารณาดีๆ ใช้โอกาส 4 อันดับให้ดีที่สุด ขอให้น้องสอบติดในคณะที่หวังนะคะ
credit:Eduzone
1. มีคะแนน ไม่ครบ อย่าเลือก เราต้องมีคะแนนครบทุกวิชา ตามที่คณะกำหนดค่ะ เช่น อยากเรียนเศรษฐศาสตร์การเกษตร ม.ขอนแก่น รหัส 0314 เป็นเศรษฐศาสตร์ ที่อยู่ในคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งกำหนดใช้ PAT1 และ PAT2 เราอยากเรียนเศรษฐศาสตร์ ที่มีคะแนน PAT1 ไม่มี PAT2 แบบนี้เลือกไม่ได้นะคะ หมดสิทธิ์
2. ไม่ผ่านเกณฑ์ อย่าเลือก บางคณะจะกำหนดคะแนนขั้นต่ำแต่ละวิชาที่น้องจะต้องได้ ซึ่งเรื่องนี้ได้อธิบายไว้แล้วในเรื่อง Admissions นี้ หนูมีปัญหา - -!! ถึงแม้คะแนนรวมน้องจะระดับเทพ แต่บางวิชาไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ถือว่าไม่ผ่าน หมดสิ้นลุ้น เลือกไปก็เสียดายอันดับ เสียดายเงินค่ะ
3.รับรวม เลขลวงตา มายาลวงใจ ตรวจสอบให้ดีว่าจำนวนรับที่แจ้งไว้เป็นจำนวนของรหัสคณะเดียว หรือเป็นจำนวนรับรวม เช่น รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง ม.ธรรมศาสตร์ รับ 50 คน วู้ววว หมูๆ แต่ดูดีๆ ค่ะ จำนวน 50 คนเนี่ย เป็นการรับรวมของการเลือกสอบทั้งหมด 6 แบบ จากทั้งวิทย์และศิลป์ เหงื่อตก! หรือคณะมนุษยศาสตร์ มศว. รหัส 1411-1417 ทั้งหมด 7 รหัสรวมกัน รับแค่ 10 คน ข้อมูลนี้จะช่วยเราประเมินอัตราการแข่งขันได้ค่ะ
4. ไม่ใช่ตัวเรา อย่าเลือก อันนี้สำคัญมาก!!!! เปิดระเบียบการไปที่หน้า 203ค่ะ ดูให้ดีว่าคณะ สาขาวิชา มหาวิทยาลัยที่เราจะเลือก เค้ากำหนดคุณสมบัติผู้สมัครไว้ยังไงบ้างทั้งเรื่องแผนการเรียน เกรดเฉลี่ย สุขภาพร่างกาย สมรรถภาพร่างกาย ความสามารถเฉพาะด้านที่ต้องการ เช่น
ซึ่งคุณสมบัติผู้สมัครเหล่านี้ จะไม่มีการตรวจสอบตอนที่น้องสมัครเลือกคณะเข้าไป เค้าจะไปตรวจวันสัมภาษณ์และตรวจร่างกายค่ะ น้องอาจจะทำคะแนนดี ผ่านข้อเขียนเข้าไปได้ แต่ถ้าคุณสมบัติไม่ครบตามที่กำหนด หรือมีคุณสมบัติที่เป็นข้อห้าม ก็มีโอกาสสูงที่จะตกรอบสัมภาษณ์ ซึ่งก็แปลว่าสอบไม่ติดนะคะ เสียใจ เสียดาย เสียโอกาส ที่สำคัญเสียอารมณ์ ดังนั้นตรวจสอบคุณสมบัติให้ดีก่อนเลือกนะคะ
5. รหัสผิด หมดสิทธิ์ลุ้น ถึงตอนสมัครคัดเลือก สมัครแล้วตรวจสอบรหัสที่เลือกให้ถูกต้องด้วยนะคะ เช่น รักเด็ก อยากเป็นครู เลือกครุศาสตร์การประถมศึกษา จุฬาฯ รหัส 0038 แต่ตอนสมัครพลาด ดันไป click 0083 กลายเป็นมนุษยศาสตร์ การท่องเที่ยว ม.เกษตรฯ แบบเลือกสอบวิชาอาหรับ กรรมแล้วค่ะ อาหรับไม่ได้สอบ จบข่าว! หมดสิทธิ์ลุ้นทั้ง 0038 และ 0083 ค่ะ
6.จ่ายเงินแล้ว ไม่ใช่แล้วกันไป สมัครเสร็จถ้ามั่นใจว่าอันนี้ล่ะ แน่ๆ แล้ว ก็ print ใบสมัคร เอาไปจ่ายเงินค่าสมัครที่ธนาคารได้เลยค่ะ จ่ายเงินเสร็จก็ถือว่าการสมัครคัดเลือก ครบถ้วน แต่...อย่าชะล่าใจค่ะ ใช้รหัสการสมัคร เข้ามาตรวจสอบการชำระเงินอีกที ถ้าครบกำหนดแล้ว (เช่นหลังจากการชำระเงิน 2 วัน) ตรวจแล้ว สถานะเป็น ยังไม่ชำระ ต้องรีบติดต่อ สอท. ด่วนเลย ใบสมัครส่วนที่ธนาคารคืนให้เก็บให้ดีๆนะคะ ใช้เป็นหลักฐานกรณีมีปัญหา และใช้อีกทีตอนสอบสัมภาษณ์ค่ะ ...ขอให้มีโอกาสได้ใช้ใบนี้กันนะคะ ^^
7. ไม่อยากเรียน อย่าเลือก อาจารย์แซม โรงเรียนบางกะปิ ได้พูดถึงการเลือกคณะไว้ว่า ‘ไม่ใช่แค่สอบให้ติด แต่เราต้องสอบให้ติดอย่างมีคุณภาพ’ คือติดในคณะที่อยากเรียน และเรียนได้ ไม่ใช่อะไรก็ได้ ขอแค่ให้ติด อย่างนั้นติดไปอาจจะเรียนไม่รอด หรือไม่มีความสุขค่ะ อยากเรียนอะไรก็เลือก เลือกในสิ่งที่อยากเรียน ไม่อยากเรียน อย่าเลือกนะคะ
เตรียมตัวมาตั้งนาน อ่านหนังสือมาเป็นปีๆ อย่ามาพลาดเอาตอนสุดท้ายนี้ล่ะ คิดดีๆ พิจารณาดีๆ ใช้โอกาส 4 อันดับให้ดีที่สุด ขอให้น้องสอบติดในคณะที่หวังนะคะ
credit:Eduzone
ใครอยากเข้าจุฬาฯ ยกมือขึ้น!!!
ยกมือขอให้สอบได้นะคะ ^_________________^
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยในฝันของใครหลายคน แจ้งเรื่องการรับตรงปี 55 แล้วค่ะ ปีนี้จุฬาฯ ประกาศแล้วว่า ไม่เข้าร่วมรับตรงกับองค์กรกลางฯ นะคะ จุฬาฯ จะรับเอง เหมือนเดิม มีเปลี่ยนแปลงรายละเอียดนิดหน่อยดังนี้ค่ะ
1. การรับตรงแบบปกติ พิจารณาคะแนน GPAX GAT และ PAT เหมือนเดิม
2. แต่ยกเลิกการคิดคะแนน GPAX 10% คิดเฉพาะ GAT PAT 100% เลย แต่จะพิจารณาเป็นคุณสมบัติของผู้สมัครแทน อาจจะมีกำหนดทั้งแบบ ดู GPAX(เกรดรวมทุกวิชา) และ GPA (เกรดรายวิชา) ซึ่งเกณฑ์นี้กำหนดก่อนสมัคร แต่ดูตอนสัมภาษณ์นะคะ ถ้าเกรดไม่ผ่าน สมัครไป ยื่น GAT PAT ผ่าน ก็ตกสัมภาษณ์อยู่ดีจ๊ะ
3. คะแนน GAT PAT จะใช้คะแนนรอบเดือนตุลาคม 2554 ที่น้องสอบกันครั้งแรก....ตื่นเต้นๆๆ ^^’’
4. คณะวิทยาศาสตร์ใช้คะแนน CU Science ยื่น ใครจะสมัครคณะนี้ จงไปสอบ
5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ใช้เฉพาะ GAT PAT เหมือนเดิม (ใช้รอบเดือน ต.ค.)
6. รับตรงครุศาสตร์แบบปกติ ยกเลิกการสอบวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ และใช้คะแนนสอบวิชาภาษาไทย สังคม ที่สทศ.จัดสอบ (ขององค์กรกลาง) แทน ดูรายละเอียดการจัดสอบของสทศ. ที่ Update! Admissions และรับตรง ปี 55
7. การรับตรงพิเศษ หรือ โครงการพิเศษ จุฬาฯ จะใช้คะแนนที่จัดสอบเอง 7 วิชา คือ ภาษาไทย สังคม ภาษาอังกฤษ CU-Science (มี 4 วิชา คือฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและคณิตศาสตร์) และ วัดแววความเป็นครู แทนคะแนน GAT PAT เดือนก.ค. ที่ถูกยกเลิกไป
8. รับตรงครุศาสตร์ แบบพิเศษ (อย่าเพิ่งงงนะจ๊ะ ^^’’) ยกเลิกการสอบวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ และใช้คะแนนวิชาภาษาไทย และ สังคม ที่จัดสอบเอง (ข้อ 4) แทน
9. โครงการผู้มีความสามารถพิเศษ เช่น ดนตรี กีฬา จะเน้นการสอบอัตนัยและความสามารถพิเศษ เหมือนทุกปีที่ผ่านมา
โล่งอกหรือเปล่าคะ :D
ใครจะสมัครแบบพิเศษ หรือ โครงการพิเศษ ก็ต้องรีบฟิตหน่อย เพราะใกล้มาแล้ว ส่วนใครจะยื่นแบบปกติ ก็เตรียมทำคะแนน GAT PAT ให้ดีค่ะ
ที่สำคัญ ติดตามกำหนดการให้ดีนะคะ ว่า เปิดสมัครเมื่อไหร่ สอบเมื่อไหร่ จะได้ไม่พลาดค่ะ ติดตามที่ไหนล่ะ เวบไซต์จุฬาฯ สิคะน้อง http://www.chula.ac.th/ คลิกโลด!
เตรียมตัวดีๆ แค่นี้ก็มีสิทธิ์ได้พระเกี้ยวมาแนบอก (เสื้อ) กันแล้วค่ะ
สู้ๆ นะคะ ว่าที่นิสิตจุฬาฯทั้งหลาย ^_________________^
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยในฝันของใครหลายคน แจ้งเรื่องการรับตรงปี 55 แล้วค่ะ ปีนี้จุฬาฯ ประกาศแล้วว่า ไม่เข้าร่วมรับตรงกับองค์กรกลางฯ นะคะ จุฬาฯ จะรับเอง เหมือนเดิม มีเปลี่ยนแปลงรายละเอียดนิดหน่อยดังนี้ค่ะ
1. การรับตรงแบบปกติ พิจารณาคะแนน GPAX GAT และ PAT เหมือนเดิม
2. แต่ยกเลิกการคิดคะแนน GPAX 10% คิดเฉพาะ GAT PAT 100% เลย แต่จะพิจารณาเป็นคุณสมบัติของผู้สมัครแทน อาจจะมีกำหนดทั้งแบบ ดู GPAX(เกรดรวมทุกวิชา) และ GPA (เกรดรายวิชา) ซึ่งเกณฑ์นี้กำหนดก่อนสมัคร แต่ดูตอนสัมภาษณ์นะคะ ถ้าเกรดไม่ผ่าน สมัครไป ยื่น GAT PAT ผ่าน ก็ตกสัมภาษณ์อยู่ดีจ๊ะ
3. คะแนน GAT PAT จะใช้คะแนนรอบเดือนตุลาคม 2554 ที่น้องสอบกันครั้งแรก....ตื่นเต้นๆๆ ^^’’
4. คณะวิทยาศาสตร์ใช้คะแนน CU Science ยื่น ใครจะสมัครคณะนี้ จงไปสอบ
5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ใช้เฉพาะ GAT PAT เหมือนเดิม (ใช้รอบเดือน ต.ค.)
6. รับตรงครุศาสตร์แบบปกติ ยกเลิกการสอบวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ และใช้คะแนนสอบวิชาภาษาไทย สังคม ที่สทศ.จัดสอบ (ขององค์กรกลาง) แทน ดูรายละเอียดการจัดสอบของสทศ. ที่ Update! Admissions และรับตรง ปี 55
7. การรับตรงพิเศษ หรือ โครงการพิเศษ จุฬาฯ จะใช้คะแนนที่จัดสอบเอง 7 วิชา คือ ภาษาไทย สังคม ภาษาอังกฤษ CU-Science (มี 4 วิชา คือฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและคณิตศาสตร์) และ วัดแววความเป็นครู แทนคะแนน GAT PAT เดือนก.ค. ที่ถูกยกเลิกไป
8. รับตรงครุศาสตร์ แบบพิเศษ (อย่าเพิ่งงงนะจ๊ะ ^^’’) ยกเลิกการสอบวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ และใช้คะแนนวิชาภาษาไทย และ สังคม ที่จัดสอบเอง (ข้อ 4) แทน
9. โครงการผู้มีความสามารถพิเศษ เช่น ดนตรี กีฬา จะเน้นการสอบอัตนัยและความสามารถพิเศษ เหมือนทุกปีที่ผ่านมา
โล่งอกหรือเปล่าคะ :D
ใครจะสมัครแบบพิเศษ หรือ โครงการพิเศษ ก็ต้องรีบฟิตหน่อย เพราะใกล้มาแล้ว ส่วนใครจะยื่นแบบปกติ ก็เตรียมทำคะแนน GAT PAT ให้ดีค่ะ
ที่สำคัญ ติดตามกำหนดการให้ดีนะคะ ว่า เปิดสมัครเมื่อไหร่ สอบเมื่อไหร่ จะได้ไม่พลาดค่ะ ติดตามที่ไหนล่ะ เวบไซต์จุฬาฯ สิคะน้อง http://www.chula.ac.th/ คลิกโลด!
เตรียมตัวดีๆ แค่นี้ก็มีสิทธิ์ได้พระเกี้ยวมาแนบอก (เสื้อ) กันแล้วค่ะ
สู้ๆ นะคะ ว่าที่นิสิตจุฬาฯทั้งหลาย ^_________________^
ความคืบหน้ารับตรง 2555
Admissions เหมือนเดิม....เย้!!
จากที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เมื่อวันที่ 23 เม.ย. 54 ที่ผ่านมา ตอนนี้สรุปแล้วว่า Admissions’55 จะใช้ระบบเดิมกับ 53 และ 54 คือยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงค่ะ ศ.ดร.ประสาท สืบค้า ประธาน ทปอ. แถลงเองเลย ว่าถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลง จะแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 3 ปี
น้องๆ สบายใจได้แล้วค่ะ ^____________________^
ความคืบหน้ารับตรง 2555
ในส่วนของการรับตรง ที่ได้เคยเล่าให้ฟังเรื่องรับตรงเปลี่ยนไป ที่มีการจัดตั้งองค์กรกลางเพื่อการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา (ระบบรับตรง) เพื่อรับตรงร่วมกันนั้น ตอนนี้มีข่าวความคืบหน้าแล้วค่ะ
1. เดือนมกราคม 2555 องค์กรกลางจะจัดให้มีการสอบ 7 วิชาหลักเพื่อใช้ในการรับตรง คือ ภาษาไทย สังคม ภาษาอังกฤษ คณิต ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ประกาศผลภายในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 โดยการสอบครั้งนี้ สทศ. จะรับผิดชอบจัดสอบค่ะ
2. น้องๆ ม.6 (ในตอนนั้น) ก็จะมีทั้งคะแนน GAT PAT รอบต.ค. 54 และคะแนนสอบตรงนี้ ซึ่งใช้คะแนนได้ทั้งสองตัว ตามที่มหาวิทยาลัยที่เราต้องการยื่นกำหนด
3. กสพท. จากที่เคยจัดสอบวิชาทั่วไป (7 วิชานี้) และ วิชาเฉพาะแพทย์ เอง จะเปลี่ยนเป็นใช้คะแนนสอบที่สทศ. จัดสอบ (ในข้อ1) ส่วนวิชาเฉพาะแพทย์ จัดสอบเองเหมือนเดิม ทั้งนี้ ยังไม่สรุปนะคะ รอประชุมอีกทีวันที่ 29 เม.ย. จ้า > <’'
4. จุฬาฯ ประกาศแล้วว่า ไม่เข้าร่วมรับตรงกับทปอ. ค่ะ จะใช้คะแนน GAT PAT รอบเดือนตุลาคม 2554 ยกเว้นคณะครุศาสตร์ ที่รับแบบปกติ ที่จะใช้คะแนน วิชาภาษาไทย สังคม จากที่สทศ. จัดสอบในข้อ 1 แทนวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ ที่จะยกเลิกสอบ
5. มศว. ปี 2555 รับเองเหมือนเดิม ไม่เข้าร่วมกับองค์กรกลางฯ ค่ะ
6. มอ.(มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) แจ้งว่า มอ.จะรับตรงเอง 50% รับตรงร่วมกับทปอ. 20% และรับผ่าน Admissions กลาง 30%
ต้องติดตามต่อไปนะคะ ว่าจะมีข้อสรุปยังไง มหาวิทยาลัยในฝันของเราจะรับแบบไหน แต่ไม่อยากให้น้องๆ กังวลกับเรื่องนี้มากจนเกินไปค่ะ ขอให้เตรียมตัวให้พร้อม ถ้าเราเตรียมพร้อม รับแบบไหน เราทำได้อยู่แล้วค่ะ
จากที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เมื่อวันที่ 23 เม.ย. 54 ที่ผ่านมา ตอนนี้สรุปแล้วว่า Admissions’55 จะใช้ระบบเดิมกับ 53 และ 54 คือยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงค่ะ ศ.ดร.ประสาท สืบค้า ประธาน ทปอ. แถลงเองเลย ว่าถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลง จะแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 3 ปี
น้องๆ สบายใจได้แล้วค่ะ ^____________________^
ความคืบหน้ารับตรง 2555
ในส่วนของการรับตรง ที่ได้เคยเล่าให้ฟังเรื่องรับตรงเปลี่ยนไป ที่มีการจัดตั้งองค์กรกลางเพื่อการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา (ระบบรับตรง) เพื่อรับตรงร่วมกันนั้น ตอนนี้มีข่าวความคืบหน้าแล้วค่ะ
1. เดือนมกราคม 2555 องค์กรกลางจะจัดให้มีการสอบ 7 วิชาหลักเพื่อใช้ในการรับตรง คือ ภาษาไทย สังคม ภาษาอังกฤษ คณิต ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ประกาศผลภายในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 โดยการสอบครั้งนี้ สทศ. จะรับผิดชอบจัดสอบค่ะ
2. น้องๆ ม.6 (ในตอนนั้น) ก็จะมีทั้งคะแนน GAT PAT รอบต.ค. 54 และคะแนนสอบตรงนี้ ซึ่งใช้คะแนนได้ทั้งสองตัว ตามที่มหาวิทยาลัยที่เราต้องการยื่นกำหนด
3. กสพท. จากที่เคยจัดสอบวิชาทั่วไป (7 วิชานี้) และ วิชาเฉพาะแพทย์ เอง จะเปลี่ยนเป็นใช้คะแนนสอบที่สทศ. จัดสอบ (ในข้อ1) ส่วนวิชาเฉพาะแพทย์ จัดสอบเองเหมือนเดิม ทั้งนี้ ยังไม่สรุปนะคะ รอประชุมอีกทีวันที่ 29 เม.ย. จ้า > <’'
4. จุฬาฯ ประกาศแล้วว่า ไม่เข้าร่วมรับตรงกับทปอ. ค่ะ จะใช้คะแนน GAT PAT รอบเดือนตุลาคม 2554 ยกเว้นคณะครุศาสตร์ ที่รับแบบปกติ ที่จะใช้คะแนน วิชาภาษาไทย สังคม จากที่สทศ. จัดสอบในข้อ 1 แทนวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ ที่จะยกเลิกสอบ
5. มศว. ปี 2555 รับเองเหมือนเดิม ไม่เข้าร่วมกับองค์กรกลางฯ ค่ะ
6. มอ.(มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) แจ้งว่า มอ.จะรับตรงเอง 50% รับตรงร่วมกับทปอ. 20% และรับผ่าน Admissions กลาง 30%
ต้องติดตามต่อไปนะคะ ว่าจะมีข้อสรุปยังไง มหาวิทยาลัยในฝันของเราจะรับแบบไหน แต่ไม่อยากให้น้องๆ กังวลกับเรื่องนี้มากจนเกินไปค่ะ ขอให้เตรียมตัวให้พร้อม ถ้าเราเตรียมพร้อม รับแบบไหน เราทำได้อยู่แล้วค่ะ
รับตรง มศว. มาแล้ว
จากที่เราคุยกันครั้งที่แล้ว มศว. ออกมาประกาศชัดเจนว่าไม่เข้าร่วมรับตรงกับองค์กรกลาง ยืนยันจะรับเองเหมือนเดิม วันนี้มีข่าวมา update ค่ะ :)
โดยปกติ มศว. จะมีการรับตรง 3 โครงการคือ
ซึ่ง โครงการสอบตรงปีนี้ ประกาศกำหนดการออกมาแล้วค่ะ
ข้อมูลจาก : http://news.swu.ac.th/show_newsdetail.asp?ID=14890
บันทึกไว้เลยนะคะ BB iPhone ปฏิทินอะไรทั้งหลายที่มี บันทึกแล้วแจ้งเตือนไว้เลย เปิดรับสมัครปุ๊บ รีบสมัคร ส่งเอกสาร อย่าพลาดนะคะ เพราะมศว. รับตรงเยอะค่ะ ไม่ต่ำกว่า 60% ของที่นั่งทั้งหมดแน่นอน บางคณะเช่น ศิลปกรรมศาสตร์ นี่รับตรง 100% แปลว่าไม่มีรับใน Admissions ถ้าพลาดรับตรง ก็หลุดเลย ดังนั้นห้ามพลาดค่ะ
และที่สำคัญตอนนี้ควรเตรียมตัวสอบได้แล้ว มศว. จะมีการจัดสอบวิชานึง คือ“วิชาความถนัดทางการเรียน” ค่ะ ชื่อแปลกนะคะ การเรียนก็ต้องมีวัดความถนัดด้วย แต่วิชานี้สำคัญ เพราะใช้ในการสอบตรงเข้าเกือบทุกคณะเลยค่ะ เนื้อหาของวิชานี้ ประกอบด้วย สมรรถภาพทางการสื่อสาร และการค้นหาเหตุผลเชิงวิเคราะห์ อืมมมมม แนะนำให้ไปหาข้อสอบเก่ามาดู และ ฝึกทำนะคะ ^^’’
นอกจากนั้นสิ่งหนึ่งที่สำคัญมากในการสมัครสอบตรงมศว. คือ แฟ้มสะสมผลงานและ Portfolio ค่ะ โดยเฉพาะใครที่อยากเข้า ศิลปกรรมศาสตร์ , นวัตกรรมการสื่อสารสังคม (สาขาการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย, การจัดการธุรกิจไซเบอร์ ,คอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร) , ภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล (การผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล, การแสดงและการกำกับการแสดงผ่านสื่อ, การออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล) เหล่านี้ ต้องยื่น Portfolio ตอนสมัคร Port สามารถชี้เป็นชี้ตายได้เลยค่ะ
อย่าเพิ่งเหนื่อยนะคะ ผลงานอย่างหนึ่งที่เอามาทำ port ได้คือการไปดูงาน มศว. เค้าก็มีงานให้น้องเข้าไปดูค่ะ วันที่ 16-17 มิ.ย. นี้ เค้ามีงาน “มศว ITวิชาการ” รายละเอียดอยู่ใน http://it.cc.swu.ac.th/ คลิกเข้าไปดูเลยค่ะ
รายละเอียดการคิดคะแนน วิชาที่ต้องสอบ กำหนดการสอบ ต้องรอจากมศว. นะคะ ก่อนถึงวันสมัคร รายละเอียดต่างๆมาแน่นอน ติดตามให้ดีค่ะ
อยากสอบติดก่อนใครก็ต้องเตรียมตัวหน่อย โครงการรับตรงเริ่มทยอยมาแล้วค่ะ เตรียมตัวให้พร้อมนะคะ
ขอให้ได้เรียนในคณะที่ฝันทุกคนค่ะ
credit:Eduzone
โดยปกติ มศว. จะมีการรับตรง 3 โครงการคือ
- โครงการสอบตรง
- โครงการโควตาจังหวัดนครนายก
- โครงการคัดสรรนักเรียนพหุปัญญาเลิศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ซึ่ง โครงการสอบตรงปีนี้ ประกาศกำหนดการออกมาแล้วค่ะ
ข้อมูลจาก : http://news.swu.ac.th/show_newsdetail.asp?ID=14890
บันทึกไว้เลยนะคะ BB iPhone ปฏิทินอะไรทั้งหลายที่มี บันทึกแล้วแจ้งเตือนไว้เลย เปิดรับสมัครปุ๊บ รีบสมัคร ส่งเอกสาร อย่าพลาดนะคะ เพราะมศว. รับตรงเยอะค่ะ ไม่ต่ำกว่า 60% ของที่นั่งทั้งหมดแน่นอน บางคณะเช่น ศิลปกรรมศาสตร์ นี่รับตรง 100% แปลว่าไม่มีรับใน Admissions ถ้าพลาดรับตรง ก็หลุดเลย ดังนั้นห้ามพลาดค่ะ
และที่สำคัญตอนนี้ควรเตรียมตัวสอบได้แล้ว มศว. จะมีการจัดสอบวิชานึง คือ“วิชาความถนัดทางการเรียน” ค่ะ ชื่อแปลกนะคะ การเรียนก็ต้องมีวัดความถนัดด้วย แต่วิชานี้สำคัญ เพราะใช้ในการสอบตรงเข้าเกือบทุกคณะเลยค่ะ เนื้อหาของวิชานี้ ประกอบด้วย สมรรถภาพทางการสื่อสาร และการค้นหาเหตุผลเชิงวิเคราะห์ อืมมมมม แนะนำให้ไปหาข้อสอบเก่ามาดู และ ฝึกทำนะคะ ^^’’
นอกจากนั้นสิ่งหนึ่งที่สำคัญมากในการสมัครสอบตรงมศว. คือ แฟ้มสะสมผลงานและ Portfolio ค่ะ โดยเฉพาะใครที่อยากเข้า ศิลปกรรมศาสตร์ , นวัตกรรมการสื่อสารสังคม (สาขาการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย, การจัดการธุรกิจไซเบอร์ ,คอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร) , ภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล (การผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล, การแสดงและการกำกับการแสดงผ่านสื่อ, การออกแบบเพื่องานภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล) เหล่านี้ ต้องยื่น Portfolio ตอนสมัคร Port สามารถชี้เป็นชี้ตายได้เลยค่ะ
อย่าเพิ่งเหนื่อยนะคะ ผลงานอย่างหนึ่งที่เอามาทำ port ได้คือการไปดูงาน มศว. เค้าก็มีงานให้น้องเข้าไปดูค่ะ วันที่ 16-17 มิ.ย. นี้ เค้ามีงาน “มศว ITวิชาการ” รายละเอียดอยู่ใน http://it.cc.swu.ac.th/ คลิกเข้าไปดูเลยค่ะ
รายละเอียดการคิดคะแนน วิชาที่ต้องสอบ กำหนดการสอบ ต้องรอจากมศว. นะคะ ก่อนถึงวันสมัคร รายละเอียดต่างๆมาแน่นอน ติดตามให้ดีค่ะ
อยากสอบติดก่อนใครก็ต้องเตรียมตัวหน่อย โครงการรับตรงเริ่มทยอยมาแล้วค่ะ เตรียมตัวให้พร้อมนะคะ
ขอให้ได้เรียนในคณะที่ฝันทุกคนค่ะ
credit:Eduzone
อยากเรียนหมอ... รู้จัก กสพท. กันหรือยัง??
ารรับเข้าของคณะแพทยศาสตร์ ไม่มีรับผ่าน Admissions นะคะ
เป็นการรับตรงทั้งหมด 100% ค่ะ แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 การรับตรงที่แต่ละมหาวิทยาลัยรับเอง เช่น การรับตรงแพทย์ ม.ขอนแก่น, การรับตรง แพทย์ มศว. อยากเรียนที่ไหน ก็สมัคร และ ไปสอบกับโครงการนั้นๆ
แบบที่ 2 การรับผ่านโครงการกสพท. ชื่อจริงคือ กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ที่เราจะคุยกันวันนี้ค่ะ
การรับตรงของกสพท. จะเป็นการรับร่วมกันของ แพทย์ 12 สถาบัน และทันตแพทย์ 5 สถาบัน ดังนี้ค่ะ
คุณสมบัติผู้สมัคร
ทั้งหมด 17 สถาบัน เวลาสมัคร เราเลือกได้ 4 อันดับ เรียงตามความชอบค่ะ ในการพิจารณาจะดูทั้งคะแนนสอบ การสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ถึงบอกว่าต้องดูคุณสมบัติด้านร่างกายให้ดี สอบข้อเขียนผ่าน ไม่ผ่านสัมภาษณ์จะเศร้ากันไปนะ
คะแนนสอบที่เอามาแข่ง คิด 100% แบ่งสัดส่วนดังนี้ค่ะ
แปลว่าถึงน้องจะสอบวิชาการ ในข้อ1 และ วิชาเฉพาะในข้อ 2 ได้คะแนนเยอะเวอร์ แต่ O-NET ไม่ผ่าน 60% ก็แปลว่าไม่ผ่านเกณฑ์ คือ สอบไม่ติดนะคะ ที่สำคัญ O-NET สอบได้ครั้งเดียว แก้ไขไม่ได้ ปีนี้ไม่ผ่าน ปีหน้าก็ไม่ผ่าน น้องจะไม่มีสิทธิ์สอบกสพท. อีกเลย จนกว่าเค้าจะเปลี่ยนระเบียบการค่ะ T T
กำหนดการของปีที่ผ่านๆ มาคือ รับสมัคร เดือนสิงหาคม, สอบวิชาเฉพาะ เดือนตุลาคม , สอบวิชาการ เดือนมกราคม ประกาศผลเดือนมีนาคมค่ะ ...ขอให้ได้ฉลองกันนะคะ ^^
สำหรับมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ จำนวนรับ และกำหนดการต่างๆ ต้องรอระเบียบการของปีนี้นะคะ ใครอยากเป็นหมอ ก็ต้องติดตามข่าวสารและเตรียมตัวกันให้ดี เผลอแป๊บเดียว เดี๋ยวก็สอบแล้วค่ะ
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www9.si.mahidol.ac.th/
ขอให้ได้เรียนหมอกันอย่างที่หวังนะคะ
credit:Eduzone
เป็นการรับตรงทั้งหมด 100% ค่ะ แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 การรับตรงที่แต่ละมหาวิทยาลัยรับเอง เช่น การรับตรงแพทย์ ม.ขอนแก่น, การรับตรง แพทย์ มศว. อยากเรียนที่ไหน ก็สมัคร และ ไปสอบกับโครงการนั้นๆ
แบบที่ 2 การรับผ่านโครงการกสพท. ชื่อจริงคือ กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ที่เราจะคุยกันวันนี้ค่ะ
การรับตรงของกสพท. จะเป็นการรับร่วมกันของ แพทย์ 12 สถาบัน และทันตแพทย์ 5 สถาบัน ดังนี้ค่ะ
คุณสมบัติผู้สมัคร
- กำลังเรียนม.6 หรือ มีวุฒิม.6
- ต้องไม่เป็นนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ และ ทันตแพทยศาสตร์ ของสถาบันของรัฐ นอกจากจะลาออกก่อนสมัครนะ
- ต้องไม่ผ่านการคัดเลือกและยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนคณะแพทยศาสตร์ และ ทันตแพทยศาสตร์ ของสถาบันของรัฐ คือถ้าน้องได้รับตรงแพทย์ หรือทันตะ ของมหา’ลัยไปแล้ว สมัครกสพท. ไม่ได้นะคะ
- ถ้าเป็นนักศึกษา ต้องเรียนไม่เกินปี 1 แก่กว่านี้ไม่รับแล้วค่ะ ^^’’
- ต้องไม่มีปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อืมม อันนี้ก็ต้องดูให้ดีค่ะ แต่ละสถาบันที่เข้าร่วมจะมีประกาศคุณสมบัติร่างกายไว้ ก่อนสมัครก็เข้าไปดูกันก่อนนะคะ
ทั้งหมด 17 สถาบัน เวลาสมัคร เราเลือกได้ 4 อันดับ เรียงตามความชอบค่ะ ในการพิจารณาจะดูทั้งคะแนนสอบ การสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ถึงบอกว่าต้องดูคุณสมบัติด้านร่างกายให้ดี สอบข้อเขียนผ่าน ไม่ผ่านสัมภาษณ์จะเศร้ากันไปนะ
คะแนนสอบที่เอามาแข่ง คิด 100% แบ่งสัดส่วนดังนี้ค่ะ
- คะแนนสอบวิชาการ 70% - วิทย์ 40% คณิต 20% อังกฤษ 20% ไทย 10% สังคม 10% คะแนนขั้นต่ำ แต่ละวิชา 30% ตัวนี้เมื่อก่อนกสพท. จัดสอบเอง แต่เมื่อมีการรับตรงโดยองค์กรกลางของสอท. ที่ให้สทศ. จัดสอบวิชาหลัก 7 วิชา กสพท. เลยเปลี่ยนเป็นใช้คะแนนจากองค์กรกลางแทนนะคะ อ้าววว งง งง ..เข้าไปอ่านนี่เลยค่ะ Update! Admissions และรับตรง ปี 55 ดังนั้นอยากเรียนแพทย์ ทันตะ ต้องสมัครสอบรับตรงกลางนะคะ
- คะแนนสอบวิชาเฉพาะความถนัดแพทย์ 30% - เนื้อหาการทดสอบศักยภาพในการเรียนรู้ ความสามารถในการจับใจความ การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ เชื่อมโยงความเป็นเหตุเป็นผล และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ + ประเมินแนวคิดทางจริยธรรม ตัวนี้ล่ะค่ะปัญหา ...แค่ชื่อก็ต้องจับใจความกันแล้ว แนะนำให้ไปหาข้อสอบเก่ามาฝึกทำนะคะ ส่วนนี้สำคัญมากๆ ขีดเส้นใต้เลยค่ะ สำคัญมากๆ
- O-NET 0% - แปลว่า ไม่เอาคะแนนมารวม แต่จะพิจารณาคะแนน เกณฑ์คือน้องจะต้องได้คะแนนรวม 5 วิชาหลัก (ไทย, สังคม, อังกฤษ, คณิต, วิทย์) ไม่ต่ำกว่า 60% ค่ะ
แปลว่าถึงน้องจะสอบวิชาการ ในข้อ1 และ วิชาเฉพาะในข้อ 2 ได้คะแนนเยอะเวอร์ แต่ O-NET ไม่ผ่าน 60% ก็แปลว่าไม่ผ่านเกณฑ์ คือ สอบไม่ติดนะคะ ที่สำคัญ O-NET สอบได้ครั้งเดียว แก้ไขไม่ได้ ปีนี้ไม่ผ่าน ปีหน้าก็ไม่ผ่าน น้องจะไม่มีสิทธิ์สอบกสพท. อีกเลย จนกว่าเค้าจะเปลี่ยนระเบียบการค่ะ T T
กำหนดการของปีที่ผ่านๆ มาคือ รับสมัคร เดือนสิงหาคม, สอบวิชาเฉพาะ เดือนตุลาคม , สอบวิชาการ เดือนมกราคม ประกาศผลเดือนมีนาคมค่ะ ...ขอให้ได้ฉลองกันนะคะ ^^
สำหรับมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ จำนวนรับ และกำหนดการต่างๆ ต้องรอระเบียบการของปีนี้นะคะ ใครอยากเป็นหมอ ก็ต้องติดตามข่าวสารและเตรียมตัวกันให้ดี เผลอแป๊บเดียว เดี๋ยวก็สอบแล้วค่ะ
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www9.si.mahidol.ac.th/
ขอให้ได้เรียนหมอกันอย่างที่หวังนะคะ
credit:Eduzone
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์ มธ.'49 [ละเอียด]
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
สอบตรงนิติมธ.’49
ช่วง เช้าเป็นกม. เรียงความ และ ย่อความ เขาจะเอาทุกอย่างมากองไว้ให้เรา เราแบ่งเวลาทำเอาเอง ให้ 3 ชม.
(9.00-12.00 น.) ที่จำๆได้ก็มี
(9.00-12.00 น.) ที่จำๆได้ก็มี
- ถามเกี่ยวกับลำดับชั้น กม.
- ข้อใดไม่ใช่นิติบุคคล ตาม ปพพ.
ก บริษัทมหาชนจำกัด
ข ห้างหุ้นส่วนสามัญ จำกัด
ค สมาคม
ง มูลนิธิ
- อายุความ มี กี่ปี
1 2 5 10 ปี (ตอบอะไรเนี้ย 10 ปะ?)
- อาณาจักร ไฮโซๆ ใน สมัยโบราณ ต่อมา ก็เสื่อม สลายลง แล้วยุโรปก็มามีบทบาทแทน
กรีก โรมัน อียิบ อีกช้อย จำไม่ได้แระ เราตอบโรมันละ
- ดอกผล มีอะไรบ้าง
ดอกผลธรรมดากับดอกผลนิตินัย
- ประมวลกฎหมายแรกของไทย (ที่เป็นไปตามอะไรก็ไม่รู้) คืออะไร
ไม่มั่นใจว่า กม.ลักษณะอาญา ร.ศ. 127 หรือ ว่า กม.ตราสามแม่ครัว เอ๊ย!...ตรา 3 ดวง (ล้อเล่นครับ คลายเครียด แฮะๆ)
-รัฐธรรมนูญ ปจจ. เปลี่ยนแปลงศาลอะไร
ศาลรัฐธรรมนูญ เปลี่ยนเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปะ?
****จำได้แค่นี้แหละ ปีนี้ 20 ข้อนะ
ที่เหลือ จะเป็นแบบ ให้มาตรามา แล้วสมมติ เหตุการณ์มาให้เรา ตีความอะ
ตัวอย่าง (เราไม่พิมพ์มาตรานะ ขี้เกียจ)
นาง ก. ท้อง 3 เดือน อยากเอาลูกออก ต่อมา นาง ก. บอก นาง ข. ว่า ปวดหลัง ช่วยเหยียบให้หน่อย นาง ข. ก็ทำตาม ปลากฏว่า นาง ก. แท้ง
คำถาม ใครทำผิด กม.บ้าง
1.นาง ก 2. นาง ข 3. ทั้งคู่ 4. ไม่มีใครผิด
เรียงความ
หัว ข้อว่า "จงบอกคุณสมบัติที่ดีของนักกม.มา 3 ประการ " ให้เขียน ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ (เราเขียนไป 3/4 อะ ทำไม่ทัน) ควรทำอย่างน้อย 3 ย่อหน้า คือคำนำ เนื้อหา สรุป เนื้อหามีหลายย่อหน้าได้ เช่น
ประการแรก ซื่อสัตย์
ประการที่สอง เที่ยงธรรม
และประการสุดท้าย (อะไรดีวะ นึกไม่ออก - -')
ย่อความ
"ในหลวง กับเศรษฐกิจไทย" (ไม่มั่นใจนะ แต่ก็ประมาณนี้) 15 หน้ามั่ง จำไม่ได้
ย่อให้เหลือ ไม่เกิน 1 หน้า (เราย่อไป 11 บรรทัด) อย่าลืมเขียนหัวให้ถูกด้วยนะ
แล้วก็เนื้อหาย่อความต้องย่อหน้าเดียวเท่านั้น ห้ามมีเครื่องหมาย วงเล็บ และ อัญประกาศด้วย
ย่อให้เหลือ ไม่เกิน 1 หน้า (เราย่อไป 11 บรรทัด) อย่าลืมเขียนหัวให้ถูกด้วยนะ
แล้วก็เนื้อหาย่อความต้องย่อหน้าเดียวเท่านั้น ห้ามมีเครื่องหมาย วงเล็บ และ อัญประกาศด้วย
ข้อสอบเก่าบางส่วน
พี่ ได้มาจากรุ่นก่อนๆ เอาไปดูตัวอย่างก่อนละกัน ไม่มีขายที่ไหนไม่ต้องหาซื้อ
ใครจะเอาไปอ่านก้อปริ๊นเอา ถ้าไม่ได้ก้อฝากเพื่อน น้องๆต้องcontactกันเองบ้างนะ
พี่ส่งเมลให้ได้ไม่หมดหรอก บางคน้อเปิดได้ บางคนก้อไม่ได้ ไม่รุ้จาทามงายแล้วเหมือนกาน
ใครจะเอาไปอ่านก้อปริ๊นเอา ถ้าไม่ได้ก้อฝากเพื่อน น้องๆต้องcontactกันเองบ้างนะ
พี่ส่งเมลให้ได้ไม่หมดหรอก บางคน้อเปิดได้ บางคนก้อไม่ได้ ไม่รุ้จาทามงายแล้วเหมือนกาน
นิติศาสตร์ Thammasat University
1.ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน
1.อังกฤษ – แมกนาคาต้า 2.อเมริกา - the declaration of independence
3.ฝรั่งเศส- ภราดรภาพ เสรีภาพ เสมอภาค 4.เยอรมัน - the declaration of human right
2.ไทยเริ่มรับ กม. จากต่างประเทศ รัชกาลอะไร
3.ไทยใช้ กม.ต่างจากประเทศใด (1.ฝรั่งเศส 2.เยอรมัน 3.ญี่ปุ่น 4.ออสเตรเลีย)
4.สว.ทำอะไรไม่ได้
1.อภิปรายโดยไม่ลงมติ 2.เสนอชื่อตุลาการ ศาลรธน.
3.เสนอชื่อตุลาการศาลปกครอง 4.เข้าชื่อถอดถอน ส.ส.
5.กม.อาญามีกี่ภาค
6.หนี้ระงับเมื่อใด (เจ้าหนี้ตาย ลูกหนี้ตาย รับสภาพหนี้ แปลงหนี้ใหม่
7.เอ็ม เอาไม้กอล์ฟตีพีท เอินเป็นตำรวจมาจับเอ็มแล้วเจอคัดเตอร์ในกระเป๋า
เอ็มสารภาพว่า หลังจากเอาไม้กอล์ฟตีพีทแล้ว จะเอาคัตเตอร์ทำร้ายอีกแต่โดนจับก่อน
ถามว่า จะริบทรัพย์อะไรได้บ้าง
เอ็มสารภาพว่า หลังจากเอาไม้กอล์ฟตีพีทแล้ว จะเอาคัตเตอร์ทำร้ายอีกแต่โดนจับก่อน
ถามว่า จะริบทรัพย์อะไรได้บ้าง
8.ก. เอาไม้ตีหมาของ ข. นาย ก. มีความผิดฐานใด
1.ทำร้ายร่างกายสัตว์ 2.ทำให้เสียทรัพย์
3.ทำร้ายร่างกายสัตว์และทำให้เสียทรัพย์ 4.ไม่มีความผิดฐานใดเลย
9.คำนวนภาษี/กำไรสุทธิ
10.ความหมาย + ลักษณะของลิขสิทธิ์/สิทธิบัตร/เครื่องหมายการค้า
11.ลหุโทษคืออะไร
12.4 จว.ภาคใต้ที่ใช้กม.อิสลามคือจังหวัดอะไร
13.การยื่นอุทธรณ์ต้องยื่นภายในกี่วัน
14.ทนายแผ่นดินคือ
15.ข้อ สอบจะออกเรื่องโมฆะกับโมฆียะเยอะมาก โดยจะให้ตัวเลือกว่านิติกรรมใด
เป็นโมฆะหรือโมฆียะและมีผลอย่างไรต่อนิติกรรม นั้น ถ้าเป็นโมฆะเพียงบางส่วน
ส่วนไหนที่ยังมีผลสมบูรณ์
เป็นโมฆะหรือโมฆียะและมีผลอย่างไรต่อนิติกรรม นั้น ถ้าเป็นโมฆะเพียงบางส่วน
ส่วนไหนที่ยังมีผลสมบูรณ์
16.การลดโทษ เหตุยกเว้นโทษ
17.การรอลงอาญา
18อำนาจการใช้กม./การร่าง/ยกเลิก/กม.พิเศษยกเลิกกม.หลัก/ระยะเวลาการใช้กม.
19.เจตนา/ไม่เจตนา/ประมาท
20.มูลเหตุแห่งหนี้
21.พินัยกรรม+มรดก (ความสามารถในการรับมรดก)
22.สิทธิ+บทบาท+หน้าที่ของบุคคล/นิติบุคคล
23.การสืบสวน/สอบสวน ต่างกันอย่างไร ใครมีอำนาจกระทำการ
24.ตัวการ/ผู้ใช้/ผู้สนับสนุน
25.คุณสมบัติ+ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส.ส./ส.ว./บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ
26.การล้มละลาย
27.หน้าที่+ประเภทของศาล
28.การบังคับคดี/การฝากขัง
29.การศึกษาภาคบังคับ/พื้นฐาน
30.กม. เอกชน/มหาชน (ที่มีปัญหาส่วนใหญ่จะถาม1.วิ.แพ่ง
*อาจารย์มธ.จะแบ่งวิ.แพ่งเป็นมหาชน* 2.กม.ระหว่างปท.แผนกคดีบุคคลเป็นกม.เอกชน )
*อาจารย์มธ.จะแบ่งวิ.แพ่งเป็นมหาชน* 2.กม.ระหว่างปท.แผนกคดีบุคคลเป็นกม.เอกชน )
1.นายก.ต่อยนายข.ฟันหัก 1ซี่ มีความผิดตามม.297 ที่ว่า “ อันตรายสาหัสนั้นคือ
1.ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด เสียฆานประสาท
2.........
3.เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้วหรือ อวัยวะอื่นใด
4-6...........
7.ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต
8.ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า20วัน
หรือจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า20วัน”
หรือจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า20วัน”
ดังนั้นนายก.มีความผิดตามม.297หรือไม่เพราะ
ก.ไม่ผิดเพราะฝันไม่ใช่อวัยวะ
ข.ไม่ผิดเพราะไม่เข้าองค์ประกอบตามม.297
ค.ผิดเพราะฟันไม่สามารถงอกใหม่ได้
ง.ผิดเพราะเข้าองค์ประกอบตามอนุ7-8
ม.149 ให้คำนิยามของนิติกรรมว่า “การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกม.
และด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล
เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ” จงตอบคำถามต่อไปนี้
และด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล
เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ” จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของ “การใดๆ”
ก.แดงละเมอหยิบเงินขาวไป500
ข.นักเรียนยกมือไหว้ครู
ค.พ่อยกกางเกงให้ลูก
ง.ไม่มีข้อใดถูก
2.ข้อใดคือความหมายของ “กระทำลงโดยชอบด้วยกม.”
ก.ขาวทำพินัยกรรมยกที่ดินให้สุนัขตัวโปรด
ข.ส้มทำสัญญาจ้างน้อยให้ฆ่าใหญ่ โดยทำเป็นหนังสือสัญญา
ค.ปุ้ยเช่าตึกแถวมะหมี่เป็นเวลา 2เดือนโดยมิได้ทำเป็นหนังสือสัญญา
ง.ไม่มีข้อใดถูก
หัว ข้อเรียงความที่ผ่านมา จะให้เขียนประมาณ 3/4ของ a4 ขาดหรือเกินจะโดนหักคะแนน
ส่วนใหญ่จะให้แสดงความคิดเห็น พยายามเขียนเป็นความเรียงอย่าเขียนเป็นข้อๆเด็ดขาด
ส่วนใหญ่จะให้แสดงความคิดเห็น พยายามเขียนเป็นความเรียงอย่าเขียนเป็นข้อๆเด็ดขาด
1.นักกม.ที่รู้เพียงกม.เปรียบเสมือนช่างก่อสร้าง แต่นักกม.ที่รู้ในศาสตร์แขนงอื่นเปรียบเสมือนสถาปนิก
2.ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรต่อสถาบันกวดวิชา และหากไม่มีสถาบันกวดวิชาจะมีผลอย่างไร
3.สิทธิของคนไข้ที่จะรับรู้ข้อมูลจากแพทย์
*ย่อความจะเป็นบทความทางกม.ของอาจารย์ในคณะจะให้ประมาณ
4-5 หน้าa4 ย่อเหลือ 1หน้า
4-5 หน้าa4 ย่อเหลือ 1หน้า
*ความ ถนัดทางวิชาการ (ปีนี้มีคะแนน)ข้อสอบมี 5ตัวเลือก ใ
ห้เวลาน้อยมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ มีไม่ถึง 40%ที่ผ่านส่วนนี้ ข้อสอบชุดนี้จะเป็นตัววัด Legal Mind ในเรื่องการตีความ
ห้เวลาน้อยมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ มีไม่ถึง 40%ที่ผ่านส่วนนี้ ข้อสอบชุดนี้จะเป็นตัววัด Legal Mind ในเรื่องการตีความ
หัวข้อเรียงความ
* บทบาทของนักกฎหมายกับการแก้ปัญหาสังคม
* ท่านคิดว่าจะเป็นอย่างไร หากประเทศไทยไม่มีโรงเรียนกวดวิชา
* อาชีพนักกฎหมายที่ข้าพเจ้าใฝ่ฝัน ( ให้เลือก ผู้พิพากษา ทนายความ อัยการ อาจารย์สอนกฎหมาย )
พี่แนะนำให้อ่านพวก quote คมๆ เกี่ยวกับกฎหมาย ความยุติธรรม ประชาธิปไตย ฯลฯ ตุนไว้เป็นเสบียง
อย่างน้อยนึกอะไรไม่ออกก็เขียนให้ดูมีอุดมการณ์ไว้ก่อน (วิชามารนะเนี่ย -*-)
ถ้า เขาถามความเห็นว่าคุณเห็นด้วยกับทางไหน อย่าแบ่งรับแบ่งสู้ ช่วงเนื้อหาอาจจะบอกทั้งข้อดีและข้อเสีย แต่ส่วนสรุปต้องฟันธงไปเลยให้ชัดๆว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
เขียนให้มีเหตุผล ตรงประเด็น ไม่ต้องชักแม่น้ำทั้งห้ามาจนหาแก่นไม่เจอ
พยายามย่อหน้าใหม่บ่อยๆ เพื่อแยกประเด็นให้เห็นชัดเจน
แต่ละย่อหน้าควรมีเพียงประเด็นเดียว และเรียงลำดับความคิดให้ดี
แต่ละย่อหน้าควรมีเพียงประเด็นเดียว และเรียงลำดับความคิดให้ดี
ติดตามข่าวสารบ้านเมืองด้วย อ่านบทวิพากษ์วิจารณ์ทางวิชาการ
สำนวนคมๆหรือแนวคิดแปลกๆดีๆจะได้ติดมาบ้าง
สำนวนคมๆหรือแนวคิดแปลกๆดีๆจะได้ติดมาบ้าง
ฝึกเขียนบ่อยๆ เขียนให้ทันเวลา ไม่เน้นปริมาณ เน้นแต่สาระ
อืม..อะไรอีก? คิดไม่ออกและ - -"
ฝึกมากๆแล้วกันค่ะน้อง ฝึกหัวข้อยากๆไว้ก่อนเลย แล้วถ้ามาเจอหัวข้อง่ายกว่าที่เคยฝึกจะได้รู้สึกดีขึ้นหน่อย
ฝาก topic ให้ไปลองคิดฝึกเขียนเล่น
"หากทุกคนมีคุณธรรมในจิตใจ กฎหมายก็ไม่จำเป็น คุณเห็นด้วยหรือไม่"
"หากคุณเป็นทนายความ มีผู้กระทำความผิดมาจ้างว่าความให้ คุณจะรับว่าความให้เขาหรือไม่"
"คุณธรรมที่สำคัญของนักกฎหมายที่ดีมีอะไรบ้าง จงยกมา 3 ข้อ"
"คุณเห็นด้วยหรือไม่กับการรัฐประหาร เพราะเหตุใด"
"ทำไมคุณถึงอยากเรียนกฎหมาย"
"คุณเห็นด้วยหรือไม่กับกฎหมายห้ามทำแท้ง"
"คุณเห็นด้วยหรือไม่กับ หวยบนดิน โสเภณีบนดิน"
พี่แนะนำให้อ่านพวก quote คมๆ เกี่ยวกับกฎหมาย ความยุติธรรม ประชาธิปไตย ฯลฯ ตุนไว้เป็นเสบียง
อย่างน้อยนึกอะไรไม่ออกก็เขียนให้ดูมีอุดมการณ์ไว้ก่อน (วิชามารนะเนี่ย -*-)
คำแนะนำในการเตรียมตัวสอบในแต่ละรายวิชา
1. วิชาความถนัดเชิงวิชาการ (Scholastic Aptitude Test-SAT)
มีค่าคะแนนทั้งหมด20 คะแนนโดยในตัวข้อสอบจะแบ่งเป็นส่วนๆดังนี้
1.1 ชุดจำนวน (5 คะแนน)
1.2 ชุดการใช้ภาษาไทย (10 คะแนน)
1.3 ชุดการใช้เหตุผล ( 5 คะแนน)
คำแนะนำ:หนังสือที่เกี่ยวกับข้อสอบSATนี้มีขายทั่วไปตามร้านหนังสือ
ให้น้องๆซื้อมาอ่านและพยามเน้นที่การทดลองทำข้อสอบด้วยตนเองบ่อยๆ
แต่ที่จริงพี่ว่าน้องไปหาซื้อหนังสือมาอ่านดูลักษณะข้อสอบให้คุ้นหน้าคุ้นตาหน่อยแล้ว
ก็ลองทำดู แต่ไม่ต้องไปเครียดกับมันมากเพราะคนส่วนมากก็งงกับข้อสอบเหมือนเรา
ทำไม่ค่อยได้กันหรอกในส่วนนี้ คะแนนจะวัดกันที่ส่วนกฎหมายกับภาษาอังกฤษมากกว่า
2. วิชาภาษาอังกฤษ
มีค่าคะแนน20 คะแนน
คำแนะนำ: ใหน้องๆฝึกฝนทักษะการอ่านเอาความ อ่านจับใจความสำคัญ และพยามรู้คำศัพท์
ให้ได้มากที่สุด เพราะถ้าไม่รู้คำศัพท์ก็หมดหวังที่จะอ่านรู้เรื่อง ข้อสอบเป็น passage ทั้งหมด
ไม่มี ไวยากรณ์เลย แต่น้องๆก็ควรจะรู้ gramma ไว้บ้างเพื่อช่วยในการทำความเxxxใจในการอ่าน
และที่สำคัญน้องๆต้องฝึกอ่านให้เร็วด้วยเพราะเวลาที่เขาให้มาเมื่อเทียบกับจำนวนข้อสอบเเล้วถือว่า
น้อยมากๆพยามอย่าใช้เวลาอ่านนานหรืออ่านหลายรอบ และสิ่งที่สำคัญมากอีกเรื่องคือเทคนิคใน
การเดาคำศัพท์ เพราะเมื่อถึงเวลาสอบจริงๆน้องจะต้องเจอกับสถานการณ์ที่ไม่สามารถแปลคำศัพท์
ได้หมดบางตัวน้องต้องเดาความหมายเอง ซึ่งการเดาศัพท์เป็นศาสตร์ชั้นสูงต้องฝึกฝนไม่ใช่เดากัน
มั่วๆ
3. วิชากฎหมาย
3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย (10 คะแนน)
3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย (30 คะแนน)
คำแนะนำ: น้องๆจะเห็นได้ว่าวิชานี้เป็นวิชาที่มีค่าคะแนนสูงมากที่สุด สำหรับวิชากฎหมายก็ไม่มี
อะไรมากง่ายๆคือน้องๆต้องไปอ่านมาเยอะๆ โดยเน้นความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วๆไปข้อสอบออก
ไม่ลึกมากน้องไม่จำเป็นต้องอ่านให้ลึกแต่ให้อ่านมากว้างๆ และข้อสอบก็จะออกเรื่องความรู้รอบ
ตัวเกี่ยวกับกฎหมายด้วย น้องๆก็ต้องติดตามดูข่าวสารบ้านเมืองบ้าง
4. เรียงความ และ ย่อความ
เรียงความ10คะแนน ย่อความ10คะแนน
คำแนะนำ: เรียงความเขาก็จะมีหัวข้อมาให้เรา แล้วก็ให้เราเขียนเรียงความแสดงทัศนคติ
ของเราประมาณหนึ่งหน้า ก็ไม่ต้องคิดมากเขียนให้อ่านง่าย ภาษาสุภาพ สะอาด และที่สำคัญ
ต้องเขียนให้ได้สาระ อย่าวนไปวนมา
ย่อความเขาก็จะมีบทความที่มีความยาวมากๆประมาณ 10 หน้ามาให้เราย่อจับใจ
ความสำคัญให้เหลือหน้าเดียว โดยย่อความของเราก็จะต้องมีแบบของการย่อความที่ถูกต้อง
ขึ้นต้นการเขียนย่อความของเราด้วยโดยรูปแบบการย่อความที่ถูกต้องนั้นให้ไปถามที่อาจารย์
หมวดภาษาไทยได้ครับ
**อันนี้เป๋อไปเจอมาเห็นว่ามีประโยชน์เผื่อใครเข้ามาอ่าน^^
**อันนี้เป๋อไปเจอมาเห็นว่ามีประโยชน์เผื่อใครเข้ามาอ่าน^^
credit:.dek-d
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)